ความคิดเห็นที่ 1 สมงิโวหาร นามกระฉอน | โดย: กระต่ายขาว [7 พ.ค. 51 13:00] ( IP A:203.172.184.166 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 2 หมดแรงละคะ รับ | โดย: สมงิ [7 พ.ค. 51 18:55] ( IP A:58.64.125.97 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 3 หมดแรงข้าวต้มแล้วเหรอ? อิอิอิ ผมช่วยต่อให้ละกันครับ ท่านสมงิ
ในบรรดาบทกลอนของท่านสุนทรภู่ที่มีอยู่มากมายมหาศาลนั้น มีอยู่บทนึงที่ผมชอบมากและจำได้ไม่ลืม คือ
"ได้ดูงามตามทางที่นางอื่น ก็หลายหมื่นเหยียบแสนไม่แม้นเหมือน ไม่มีสู้คู่ควรกระบวนเบือน เหมือนแม่เพื่อนชีพชายจนปลายแดน"
และยังมีหลายบทที่ชอบมาก แต่จำไม่ได้ ต้องเปิดหนังสือดู คือ
"ขอเดชะพระอุมารักษาสวาท ให้ผุดผาดเพียงพักตร์พระลักษมี วิมานแก้วแววฟ้าฝูงนารี คอยพัดวีแวดล้อมอยู่พร้อมเพรียง ขอเดชะพระอินทร์ดีดพิณแก้ว ให้เจื้อยแจ้วจับใจแจ่มใสเสียง สาวสุรางค์นางรำระบำเรียง คอยขับกล่อมพร้อมเพรียงเคียงประคอง ขอพระจันทร์กรุณารักษาศรี ให้เหมือนมณีนพเก้าอย่าเศร้าหมอง เหมือนหุ้นเชิดเลิศล้วนนวลละออง ให้ผุดผ่องผิวพรรณเพียงจันทรา ขอพระพายชายเชยรำเพยพัด ให้ศรีสวัสดิ์สว่างจิตขนิษฐา หอมดอกไม้ในทวีปกลีบผกา ให้หอมรื่นชื่นวิญญานิทรารมณ์ ขอเดชะพระคงคารักษาสนอม อย่าให้มอมมีระคายเท่าปลายผม ให้เย็นเรื่อยเฉื่อยฉ่ำเช่นน้ำลม กล่อมประทมโสมนัสสวัสดี" | โดย: MM [8 พ.ค. 51 17:21] ( IP A:124.120.219.106 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 4 ผมท้อ พิมพ์ละมันหายไปซะงั้นคะ รับ ผมประทับใจ ท่อน หนึ่ง ฝังใจ คงเพราะต้องท่องกระมัง
.....แล้วสอนว่า อย่าไว้ ใจมนุษย์
มันแสนสุด ลึกล้ำ เหลือกำหนด
ถึงเถาวัลย์ พันเกี่ยว ที่เลี้ยวลด
ก็ไม่คด เหมือนหนึ่งใน น้ำใจคน
ทันสมัยเหลือใจคะ รับ......
| โดย: สมงิ [13 พ.ค. 51 7:57] ( IP A:58.64.123.211 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 5 พิมพ์แล้วมันจะหายไปได้ยังไงครับ? ท่านสมงิ ถ้าั้นคราวหลังพิมพ์ใส่ Notepad แล้วค่อยก๊อปมาแปะในนี้ เวลาเน็ทล่ม ข้อความจะได้ไม่หายครับ
กลอนที่ว่าัทันสมัยนั้นความจริงยังมีต่ออีก 2 บทครับ ขอต่อเลยละกัน....
มนุษย์นี้มีที่รักอยู่สองสถาน บิดามารดารักมักเป็นผล ที่พึ่งหนึ่งพึ่งได้แต่กายตน เกิดเป็นคนคิดเห็นจึงเจรจา แม้ใครรักรักมั่งชังชังตอบ ให้ีรอบคอบคิดอ่านนะัหลานหนา รู้สิ่งใดไม่สู้รู้วิชา รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี | โดย: MM [13 พ.ค. 51 10:33] ( IP A:124.120.219.51 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 6 ผมมักง่าย คะ รับ ลืม ทุกที ร่ำไป ตอนนี้ ไง พิมพ์ลงบนโนต แพด เสมอ ท่า ไม่ลืม
ผมนึกใบหน้า ของ ท่าน สุนทรภู่ วาดภาพในใจ ว่า เปน หน้า แบบไหน คน อื่น ใน ยุค เดียวกัน คง มี คน เก่งกาจ สามารถ ไม่ น้อย กัล ไผล่ไปนึกถึง....ศรีธนชัย....อีก ท่าน ปัญญา ประดุจดัง อาวุธจริงๆ คะ รับ | โดย: สมงิ [15 พ.ค. 51 7:42] ( IP A:58.64.102.108 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 8 เราตัดขาด ถึงเนื้อน้ำธรรมชาติไม่ปรารถนา. สุนทรภู่. นิราศพระประธม. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 18.^ 18.0 18.1 สุนทรภู่. เพลงยาวถวายโอวาท. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 19.^ สุนทรภู่. นิราศพระประธม. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 20.^ สุนทรภู่. ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม, ขุนแผนสอนพลายงาม. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 21.^ สุนทรภู่. พระอภัยมณี, พระฤๅษีสอนสุดสาคร. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 22.^ 22.0 22.1 22.2 22.3 22.4 22.5 22.6 22.7 นิธิ เอียวศรีวงศ์. สุนทรภู่: มหากวีกระฎุมพี. เอกสารประกอบสัมมนา ประวัติศาสตร์สังคมสมัยต้นกรุงเทพฯ ชมรมประวัติศาสตร์ศึกษา 19 มกราคม 2524. พิมพ์รวมเล่มใน "สุนทรภู่: มหากวีกระฎุมพี", ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน. กรกฎาคม 2545 23.^ ไมเคิล ไรท์. พระอภัยมณี วรรณกรรมบ่อนทำลายเพื่อสร้างสรรค์ จาก "สุนทรภู่: มหากวีกระฎุมพี", ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน. กรกฎาคม 2545 24.^ รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 25.^ 25.0 25.1 ทศพร วงศ์รัตน์, พระอภัยมณีมาจากไหน, กรุงเทพฯ: คอนฟอร์ม, 2550. น.12-18. 26.^ ประจักษ์ ประภาพิทยากร. เบื้องหลังการแต่งพระอภัยมณี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. 2513. 27.^ ฉันทิชย์ กระแสสินธุ์, อนุสรณ์สุนทรภู่ 200 ปี : สุนทรภู่ดูดาว, สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ: 2529 28.^ สุนทรภู่, พระอภัยมณี ตอนที่ 18 พระอภัยมณีโดยสารเรืออุศเรน, กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 29.^ สุจิตต์ วงศ์เทศ, พระอภัยมณี มีฉากอยู่ทะเลอันดามัน อ่างเบงกอล และมหาสมุทรอินเดีย จากหนังสือ เศรษฐกิจ-การเมือง เรื่องสุนทรภู่ มหากวีกระฎุมพี, กรุงเทพฯ: มติชน, 2545. น.225 30.^ พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์), ประวัติสุนทรภู่ จาก หนังสืออนุสรณ์ในงานฌาปนกิจ นางจันทร์ ตาละลักษมณ์ ๒๕๓๓, พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2533, อ้างถึงต้นฉบับลายมือ พ.ศ. 2456[1> 31.^ กวี 4 จำพวก จาก Lexitron Dictionary 32.^ "ใครไม่ไปก็จงจำคำแถลง ทั้งคนฟังคนอ่านสารแสดง" สุนทรภู่. นิราศพระบาท กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 33.^ คิดขัดขวางอย่างจะพาเลือดตากระเด็น บันดาลเป็นปลวกปล่องขึ้นห้องนอน กัดเสื่อสาดขาดปรุทะลุสมุด เสียดายสุดแสนรักเรื่องอักษร. สุนทรภู่. รำพันพิลาป. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 34.^ เจือ สตะเวทิน, สุนทรภู่, กรุงเทพฯ: สุทธิสารการพิมพ์, 2516. น.39. อ้างจาก อนุสรณ์สุนทรภู่ 200 ปี, กรุงเทพฯ: สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย, 2529. น.202 35.^ 35.0 35.1 ภิญโญ ศรีจำลอง. ความยิ่งใหญ่แห่งวรรณคดีรัตนโกสินทร์ กรุงเทพฯ: กราฟิกเซ็นเตอร์, 2548. 36.^ ธนิต อยู่โพธิ์, บันทึกเรื่องผู้แต่งนิราศดงรัง จากบทนำในหนังสือ ชีวิตและงานของสุนทรภู่, กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร พ.ศ. 2518 37.^ "ประวัติการพิมพ์ไทย" จาก สารานุกรมสำหรับเยาวชนฯ เล่ม 18 38.^ 38.0 38.1 ศานติ ภักดีคำ. "เป็นอาลักษณ์นักเลงทำเพลงยาว เขมรลาวลือเลื่องถึงเมืองนคร" ความสัมพันธ์วรรณกรรมสุนทรภู่กับวรรณกรรมเขมร ใน สุนทรภู่ในประวัติศาสตร์สังคมรัตนโกสินทร์มุมมองใหม่: ชีวิตและผลงาน. กทม. มติชน. 2550. 39.^ พระอภัยมณี ฉบับแปลภาษาอังกฤษ โดยพระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร บนเว็บไซต์อเมซอนดอตคอม 40.^ ผลงานละครต่าง ๆ ของภัทราวดีเธียเตอร์ 41.^ แผนการแสดงปี 2552 โรงละครแห่งชาติภาคตะวันตก จ.สุพรรณบุรี 42.^ "รสตาล" จากเว็บไซต์ บ้านคนรักสุนทราภรณ์ 43.^ เจ้าของตาลรักหวานขึ้นปีนต้น ระวังตนตีนมือระมัดมั่น เหมือนคบคนคำหวานรำคาญครัน ถ้าพลั้งพลันเจ็บอกเหมือนตกตาล. สุนทรภู่. นิราศพระบาท. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร 44.^ 44.0 44.1 44.2 เปลื้อง ณ นคร, ประวัติวรรณคดีไทย, กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2543. 45.^ Karen Ann Hamilton, Sunthorn Phu (1786-1855) : the Peoples Poet of Thailand (PDF), Fulbright-Hays Curriculum Project/Thailand & Laos 2003. (อังกฤษ) 46.^ หมุดกวีจุดที่ ๒๔ "บ้านกร่ำ" 47.^ ล้อม เพ็งแก้ว. โคตรญาติสุนทรภู่ จาก นิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับพิเศษ มีนาคม 2529. พิมพ์รวมเล่มใน สุนทรภู่ - อาลักษณ์เจ้าจักรวาล โดยสำนักพิมพ์มติชน พ.ศ. 2547 48.^ วรรณศิลป์สโมสร วัดเทพธิดาราม (กุฏิสุนทรภู่) 49.^ วันสุนทรภู่. ชุมนุมครุศาสตร์อาสา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง [แก้> แหล่งข้อมูลอื่น วิกิซอร์ซ มีเนื้อหาต้นฉบับเกี่ยวกับ: ผลงานของสุนทรภู่
กองทุนสุนทรภู่ ประวัติพระสุนทรโวหาร ประวัติสุนทรภู่และเรื่องเล่าพระอภัยมณีเป็นภาษาอังกฤษ แปลโดยพระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย [แก้> ดูเพิ่มรายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก [แสดง>ด พ กกวีนิพนธ์ ของ สุนทรภู่ นิราศ นิราศเมืองแกลง นิราศพระบาท นิราศอิเหนา นิราศภูเขาทอง นิราศวัดเจ้าฟ้า นิราศสุพรรณ นิราศเมืองเพชร นิราศพระประธม รำพันพิลาป นิทาน โคบุตร ลักษณวงศ์ พระอภัยมณี สิงหไตรภพ พระไชยสุริยา สุภาษิต สวัสดิรักษา เพลงยาวถวายโอวาท สุภาษิตสอนหญิง บทเสภา ขุนช้างขุนแผน (ตอน กำเนิดพลายงาม) เสภาพระราชพงศาวดาร บทละคร อภัยนุราช บทเห่กล่อมพระบรรทม เห่เรื่องพระอภัยมณี เห่เรื่องโคบุตร เห่เรื่องจับระบำ เห่เรื่องกากี [แสดง>ด พ กบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยองค์การยูเนสโก พระมหากษัตริย์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระบรมวงศานุวงศ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท บุคคลสำคัญ สุนทรภู่ พระยาอนุมานราชธน ปรีดี พนมยงค์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล กุหลาบ สายประดิษฐ์ พุทธทาสภิกขุ เอื้อ สุนทรสนาน หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ดูเพิ่ม: สถานีย่อย มรดกโลกในไทย ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B9%88". หมวดหมู่: บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2329 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2398 | สุนทรภู่ | กวีชาวไทย | นักเขียนชาวไทย | บรรดาศักดิ์ชั้นพระ หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: บทความคัดสรรเครื่องมือส่วนตัว ล็อกอิน / สร้างบัญชีผู้ใช้เนมสเปซ บทความอภิปรายสิ่งที่แตกต่างดู เนื้อหาแก้ไขประวัติการกระทำ สืบค้น ป้ายบอกทาง หน้าหลักเหตุการณ์ปัจจุบันถามคำถามบทความคัดสรรบทความคุณภาพสุ่มบทความมีส่วนร่วมศาลาประชาคมปรับปรุงล่าสุดเรียนรู้การใช้งานติดต่อวิกิพีเดียบริจาคให้วิกิพีเดียวิธีใช้พิมพ์/ส่งออกสร้างหนังสือดาวน์โหลดในชื่อ PDFหน้าสำหรับพิมพ์ เครื่องมือหน้าที่ลิงก์มาปรับปรุงที่เกี่ยวโยงอัปโหลดหน้าพิเศษลิงก์ถาวรอ้างอิงบทความนี้ ภาษาอื่นDeutschEnglish日本語한국어РусскийTiếng Việtหน้านี้แก้ไขล่าสุดเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2554 เวลา 17:55 น. | โดย: ่รททมมทือิ [5 มิ.ย. 54 13:23] ( IP A:110.168.126.106 X: ) |  |
|