ต้องการอภิสิทธิ์ต่างหาก
   **แพทย์ไทยใกล้วิกฤติงานหนัก-เงินน้อย
ที่ปรึกษาสมาพันธ์แพทย์ ฯ เผย บุคลากรทางการแพทย์ มีน้อย ไม่เพียงพอกับผู้มาใช้บริการที่มากขึ้นกว่าเดิม แถมหมอ-พยาบาลเสี่ยงถูกฟ้อง จี้ยกเครื่องทั้งระบบแยก สธ.จาก ก.พ. ...


พญ.เชิดชู อริยศรีวัฒนา ที่ปรึกษาสมาพันธ์แพทย์ รพ.ศูนย์ และ รพ.ทั่วไป เปิดเผยว่า ปัจจุบันบุคลากรทางการแพทย์ และบุคลากรอื่นๆในโรงพยาบาลมีน้อย แต่ประชาชนที่ไปใช้บริการที่โรงพยาบาลมีมากขึ้นกว่าเดิม จนทำให้มีผู้ป่วยล้นโรงพยาบาล เพราะไปรับบริการฟรีเหมือนไปงานบริจาคทาน เนื่องจากประชาชน 47 ล้านคน ไม่มีภาระในการร่วมรับผิดชอบการดูแลรักษาสุขภาพตนเองเลย ทำให้ ประชาชนไปใช้บริการมากถึงปีละประมาณ 200 ล้านครั้ง ในขณะที่มีแพทย์ทำงานตรวจรักษาผู้ป่วยไม่ถึงหมื่นคน เพราะจำนวนแพทย์ในกระทรวงสาธารณสุขที่มีประมาณ หมื่นคนนั้น ไปทำหน้าที่บริหาร ตรวจราชการ ในกรมกองต่างๆหมด

พญ.เชิดชูกล่าวอีกว่า ในการไปใช้บริการแต่ละครั้งประชาชน ต้องเสียเวลารอนาน แพทย์เองก็ต้องรีบเร่งทำงาน พยาบาลต้องดูแลผู้ป่วยคราวละหลายๆคน เกิดความเสี่ยงอันตรายในการรับบริการด้านสุขภาพ สิ่งที่ปรากฏคือ คดีฟ้องร้องที่เกิดขึ้นมากมาย ขณะที่ รพ.รัฐ เกือบทุกแห่งประสบปัญหาความขาดแคลน ทั้งนี้ ในการกำหนดแนวทางการพัฒนาโดยเฉพาะการพัฒนาระบบการบริการด้านสุขภาพ สธ.ต้องให้มีเงินเพียงพอที่จะทำนุบำรุงอาคารสถานที่ เทคโนโลยี และเวชภัณฑ์ ควรมีการกำหนดตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และค่าตอบแทนที่เป็นธรรมแก่บุคลากรทุกระดับและสาขาวิชาชีพ โดย สธ.ต้องออกจากการควบคุมของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (กพ.) เนื่องจากในปัจจุบันเงินเดือนและค่าตอบแทนบุลากรของ สธ.ไม่สามารถกำหนดได้อย่างเหมาะสม ทำให้ต้องไปออกระเบียบค่าตอบแทนบุคลากร อาศัยเงินของโรงพยาบาลมาจ่าย จนเกิดเป็นการพิจารณาอย่างไม่ทั่วถึง ไม่เป็นธรรม และโรงพยาบาลบางแห่งไม่มีเงินจ่าย ส่วนการจัดสรรบุคลากรต้องคำนึงถึงภาระงาน ดูจากสถิติผู้มาใช้บริการ ไม่ใช่ตามระบบ GIS รพ.ทั่วไปควรมีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาพื้นฐาน ขณะที่ รพ.ศูนย์การแพทย์ ควรมีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาทั่วไปและสาขาต่อยอดเพิ่มขึ้น เช่น แพทย์อายุรกรรมโรคเลือด โรคหัวใจ ศัลยกรรมประสาท เป็นต้น เพื่อผลัดเปลี่ยนอยู่เวรให้บริการประชาชนตลอด 24 ชั่วโมง.
โดย: จากข้าราชการ ก.พ. [5 ก.พ. 53 8:18] ( IP A:58.8.8.222 X: )
Add to Facebook  Add to Twitter  Add to Multiply  Add to Google  Add to Blogger  Add to Live
ความคิดเห็นที่ 1
   แก้ปัญหาไม่ถูกละมั่งที่อังกฤษก็เป็นระบบ NHS
ที่อังกฤษ มันก็บ่นว่างานหนักเงินน้อย เรียกร้องค่าแรง่มากๆ ประจำ
ผูกขาดจนหมอไม่มีใช้ แล้วก็สั่งของนอกมาใช้ ตายห่าประจำ
ผลิตหมอให้ล้นตลาด งานจะน้อยลง ค่ารักษาก็จะถูกลง ค่าแรงก็จะไม่มีคนโวย เพราะหมอตกงาน โวยก็ออกไป
อยู่กันอีกไม่นานหรอกอาจารย์ เดี๋ยวก็ตายกันหมดแล้ว ยังไงก็ไม่น่าจะเกิน 100 ปี ทำอะไรให้ดีดีเพื่อประเทศ ดีกว่าทำเพื่อพวกพ้อง
โดย: ไม่เห็นด้วยเท่าไหร่ [5 ก.พ. 53 8:23] ( IP A:58.8.8.222 X: )
ความคิดเห็นที่ 2
   DUP Backs NI Deal With Sinn Fein Six Could Face Expenses Charge British Serviceman Dies In Alps Girl Buried Alive In Honour Killing Jackson's Doctor 'Is Due In Court' Top StoriesLocum Doctor's Patient Unlawfully Killed
11:24pm UK, Thursday February 04, 2010

Neal Walker, Sky News Online

A patient who was given a fatal overdose by an "incompetent" overseas locum was unlawfully killed, a coroner has ruled.
The death of David Gray amounted to gross negligence and manslaughter, said Cambridgeshire North and East Coroner William Morris.

In a damning conclusion, the coroner described German doctor Daniel Ubani, who treated 70-year-old Mr Gray, as "incompetent and not of an acceptable standard".

He also made a string of recommendations to improve out-of-hours care, including the setting up of a database for foreign doctors working in the UK.

Mr Gray, who was suffering from renal colic, died after he was injected with 100mg of diamorphine, 10 times the recommended daily dose.

His son Stuart, who is a GP, welcomed the coroner's verdict.

"My father's tragic death happened because of Dr Ubani's actions, and because of serious failings within the Cambridgeshire Primary Care Trust and Take Care Now," he said.



German doctor Daniel Ubani

"We want to see him tried under UK law for his death but we also want safeguards put in place to prevent this happening again."

He added: "We call on the Health Secretary to introduce a UK proficiency test which EU doctors have to pass before being allowed to work in the UK, just as non-EU doctors have to currently."

Dr Paul Zollinger-Read, chief executive of NHS Cambridgeshire, admitted: "We accept that someone with Dr Ubani's qualifications and experience should not have been put in a position where he was able to make this type of mistake."

Mr Gray was treated by Dr Ubani at his home in Manea, Cambridgeshire, on February 16, 2008.

The inquest heard the locum was working on his first out-of-hours shift in Britain and had only arrived in the country the day before.

Mr Gray's partner Lynda Bubb told the hearing how the German doctor seemed "tired" and "dithery" during his visit.


Doctors must be accountable for their actions, and must not be able to escape justice by simply returning to their country of origin.

David Gray's son Stuart Gray

Ms Bubb said she called SuffDoc, which is part of the out-of-hours health care service Take Care Now, when Mr Gray was in severe pain.

She told the inquest that after the lethal dose was administered Mr Gray took Dr Ubani's hand and said "thank you".

Mr Gray was pronounced dead four hours later.

Two weeks later the doctor contacted authorities in Germany to say he had "made a mistake in England due to tiredness which resulted in a death".

Dr Ubani was charged in Germany with death by negligence over Mr Gray's death. He was given a nine-month suspended jail sentence and fined 5,000 euros.

The prosecution, which is allowed under German law, means he cannot be charged in the UK.


We accept that someone with Dr Ubani's qualifications and experience should not have been put in a position where he was able to make this type of mistake.

Dr Paul Zollinger-Read, chief executive of NHS Cambridgeshire

Mr Gray's son called on the Home Secretary and Foreign Secretary to address the international arrest warrant system.

He said: "Doctors must be accountable for their actions, and must not be able to escape justice by simply returning to their country of origin."

The case of Mr Gray prompted the Care Quality Commission to launch an investigation into the care provided by TCN.

The commission's interim report, released last October, raised questions about the standard of GP out-of-hours services.

The conclusion of the inquest was followed by the publication of a Government-ordered review into out-of-hours health care.
โดย: ที่อังกฤษ [5 ก.พ. 53 8:27] ( IP A:58.8.8.222 X: )
ความคิดเห็นที่ 3
   สิ่งที่ปรากฏคือ คดีฟ้องร้องที่เกิดขึ้นมากมาย ขณะที่ รพ.รัฐ เกือบทุกแห่งประสบปัญหาความขาดแคลน ทั้งนี้ในการกำหนดแนวทางการพัฒนาโดยเฉพาะการพัฒนาระบบการบริการด้านสุขภาพ สธ.ต้องให้มีเงินเพียงพอที่จะทำนุบำรุงอาคารสถานที่ เทคโนโลยี และเวชภัณฑ์ ควรมีการกำหนดตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และค่าตอบแทนที่เป็นธรรมแก่บุคลากรทุกระดับและสาขาวิชาชีพ โดย สธ.ต้องออกจากการควบคุมของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (กพ.) เนื่องจากในปัจจุบันเงินเดือนและค่าตอบแทนบุลากรของ สธ.ไม่สามารถกำหนดได้อย่างเหมาะสม

มีคดีฟ้องร้อง เพราะอะไร ไม่รับผิดชอบคนไข้ใช่หรือไม่
ไม่ยอมให้คัดถ่ายเอกสารประวัติการรักษาพยาบาล
แก้ไขเวชระเบียนเขาใช่หรือไม่ ปฏิเสธความรับผิดชอบใช่หรือไม่

ทำไมไม่พูดถึงแนวทางแก้ไขปัญหานี้บ้าง การจัดตั้งกองทุนชดเชย
ความเสียหายเจ๊ชูแกไม่เคยพูดถึงเลยยยยยยยยยยยยยยนะเจ๊

พูดแต่เอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้คนไข้ แถมจะเอาตังค์เข้ากระเป๋าตัวเอง
อีก ของบ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ รู้สึกถนัดอยู่เรื่องเดียว
โดย: เบื่อเจ๊ชู [5 ก.พ. 53 11:23] ( IP A:61.90.108.233 X: )
ความคิดเห็นที่ 4
   น่าจะเพิ่มเวลา เพิ่มเงิน จะได้ไม่กระจัดกระจาย

รัฐฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯ ผิดพลาด ยังอ้างอะไรต่ออะไรได้
แต่ถ้าเอกชล ผิดพลาด ยังอ้างอะไรอีก

กินสตอบอรี่อร่อยดี
โดย: เกลียดสตอ... [5 ก.พ. 53 17:02] ( IP A:111.84.5.131 X: )
รายละเอียด :
ชื่อ / e-mail :    แทรกไอคอนน่ารักๆในข้อความ
e-mail :
ส่งอีเมลทุกครั้งที่มีการตอบกระทู้       (ใส่ Email เมื่อต้องการให้ส่ง Email เมื่อมีคนมาโพสในกระทู้)
รูปประกอบ :
.jpg .bmp .gif < 100K
จัดตำแหน่งรูป :
ชิดซ้าย
กึ่งกลาง
ชิดขวา
เสียงประกอบ : .wav .mp3 .wma .ogg < 300K
คลิปวีดีโอ (Youtube) :
ตัวอย่าง : http://www.youtube.com/watch?v=k_ufqno7NaE


CAPTCHA code



คลิกที่นี่เพื่อกลับหน้าบ้าน