ไม่เห็นด้วยครับ
   เหตุผลที่ต้องมีกฎหมายคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ให้บริการสาธารณสุข

การเกิดผลที่ไม่คาดหวังจากการรับบริการสาธารณสุข ซึ่งมักจะหมายถึงภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นที่เป็นเหตุให้ เกิดความพิการ หรือเสียชีวิต ซึ่งการให้บริการทางการแพทย์คือการบริการสาธารณสุขแบบหนึ่งมีคำกล่าวว่าการร ักษาทางการแพทย์นั้นเป็นศาสตร์แห่งความน่าจะเป็น และเป็นศิลป์แห่งความไม่แน่นอนนั่นคือการรักษาทุกชนิดแม้ให้การรักษาที่ไม่ม ีข้อผิดพลาดใดๆก็มีโอกาสเสี่ยงต่อการได้ผลที่ไม่คาดหวังได้เสมอมากน้อยตามเห ตุและปัจจัยของแต่ละราย อย่างเช่นการคลอดบุตรมีโอกาสเสียชีวิตของมารดาได้ในอัตราประมาณ 20 ต่อแสนของหญิงที่ตั้งครรภ์ การผ่าตัดหลอดเลือดในสมองโป่งพองและแตกแล้วที่หยุดชั่วคราว ผู้ป่วยมีอาการไม่รุนแรงและรู้ตัวดี เมื่อตรวจพบตำแหน่งแล้วก็ต้องผ่าตัดหนีบหลอดเลือดด้วยคลิปที่ทำด้วยโลหะไททา เนียม แม้การผ่าตัดจะเรียบร้อยดีก็อาจเกิดภาวะหลอดเลือดตีบจากปฏิกิริยาของเลือดที ่เคยออกมาก่อน ซึ่งอาจพิการหรือเสียชีวิตได้ในอัตราร้อยละ 5 นั่นคือในสภาวการณ์ที่พร้อมที่สุดแล้วสำหรับการรักษาโรคนี้

แต่ในความเข้าใจของสาธารณชนกลับเห็นว่าเป็นความเสียหายที่เกิดจากการรักษาเพ ราะก่อนการรักษาผู้ป่วยยังดี ไม่คิดถึงเหตุปัจจัยที่แท้จริงว่าโรคนั้นๆมีความเสี่ยงตามธรรมชาติของโรคเอง หรือหากไม่รักษาตายแน่นอน แต่เมื่อรักษาโดยผู้ทีชำนาญแล้วซึ่งใช้วิธีการเดียวกันรักษาผู้ป่วยส่วนใหญ่ หายดี แต่มีส่วนน้อยนั้นไม่ได้ผลดี

ทางการแพทย์เห็นว่าผลการรักษานั้นเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานแล้ว ด้วยเหตุนี้จึงมีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยมาตรา 80 (2) กำหนดว่ารัฐต้องส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันนำไปสู่สุขภ าวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้เอกชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพและการจัดบริการสาธา รณสุข โดยผู้มีหน้าที่ให้บริการดังกล่าวให้บริการซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐาน วิชาชีพและจริยธรรม ย่อมได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย

ด้วยเหตุนี้ในโอกาสที่กลุ่มแพทย์ที่ห่างเหินการปฏิบัติงานร่วมกับกลุ่มเครือ ข่ายผู้ได้รับความเสียหายจากการบริการทางการแพทย์ (ที่ส่วนใหญ่เกิดจากการดำเนินของโรคที่เกิดขึ้นได้)ได้ผลักดันให้มีกฎหมายคุ ้มครองผู้ได้รับความเสียหายจากการบริการสาธารณสุข ซึ่งในฐานะที่เป็นแพทย์ผู้ปฏิบัติงานและเผชิญต่อผลที่ไม่คาดหวังได้สูง(ผู้เ ขียนเป็นประสาทศัลยแพทย์) มีความเห็นว่าผลที่ไม่คาดหวังหรือความเสียหายที่เกิดต่อผู้ป่วยนั้นไม่เพียง มีผลต่อผู้ป่วยเท่านั้น ตัวแพทย์ผู้รักษาก็ได้รับผลกระทบโดยที่แม้ญาติและผู้ป่วยจะเข้าใจเป็นอย่างด ีต่อความเสี่ยงที่แจ้งให้ทราบก่อนแล้ว(กรณีที่ไม่ใช่ภาวะเร่งด่วน) แต่ตัวแพทย์ก็ผิดหวังและเสียใจเช่นกัน

หากถูกกดดันจากความไม่เข้าใจของญาติที่เรียกร้องความรับผิดชอบต่อความเสียหา ยที่เกิดขึ้นอีกยิ่งกระทบกระเทือนจิตใจเป็นอย่างสูง หลายรายที่ทำใจไม่ได้ก็หยุดปฏิบัติหน้าที่ไปเลย แต่สำหรับผู้เขียนและแพทย์ส่วนใหญ่ที่เคลื่อนไหวไม่เห็นด้วยต่อกฎหมายที่กำล ังเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรขณะนี้นั้น ยอมไม่ได้ที่จะเสียโอกาสในการช่วยเพื่อนมนุษย์จากความรู้ที่สั่งสมมาจากผู้ป ่วยจำนวนมากที่ไว้วางใจให้เรารักษา ซึ่งเราถือว่าผู้ป่วยก็คือครูของพวกเราเช่นกัน จึงขอเสนอให้ปรับปรุงในประเด็นหลักดังนี้

1.ชื่อของพรบ.ขอเปลี่ยนจาก “ความเสียหาย“ เป็นคำว่า “ผลกระทบ” จะได้ดูแลทั้งสองฝ่ายที่ได้รับผลกระทบเช่นกัน เป็นดังนี้ ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ.....

2.เมื่อได้รับการชดเชยแล้วให้คดีความแพ่ง คดีความอาญา เป็นอันยุติ สำหรับข้อนี้มีนักกฎหมายแย้งว่าวิชาชีพแพทย์จะมีอภิสิทธิ์เหนือวิชาชีพอื่นเ ช่นวิศวกรที่ต้องรับโทษเมื่อออกแบบผิดทำให้ตึกถล่มต้องติดคุก หรือจะเหนือกว่าคนขับรถชนคนได้อย่างไร ความจริงแล้วที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้นั้นเพราะวิชาชีพแพทย์มีความไม่แน่นอนดัง กล่าวข้างต้นแล้ว แต่สำหรับวิชาชีพวิศวกรนั้นถ้าทำตามแบบแล้วแน่นอนว่าไม่เกิดความเสียหายแน่ คนขับรถถ้าปฏิบัติตามกฎจราจรก็ไม่เป็นตัวต้นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุแน่ แต่แพทย์นั้นแม้ทำอย่างถูกต้องแล้วก็อาจได้ผลไม่ดีได้

3.ผู้ที่ควรได้รับการชดเชยควรได้แก่กรณีที่เกิดจากข้อผิดพลาดของระบบบริการเ ช่นรักษาล่าช้าเพราะไม่มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทำให้ต้องส่งต่อไปอีกแห่งหนึ่ง กรณีเหตุสุดวิสัยเช่นภาวะน้ำคร่ำรั่วเข้าสู่กระแสเลือดทำให้หญิงตั้งครรภ์เส ียชีวิต การเกิดผลที่ไม่ได้คาดหมายไว้ว่าจะเกิดได้เป็นต้น

4.ควรมีบทกำหนดโทษต่อคณะอนุกรรมการที่ให้จ่ายเงินชดเชย โดยไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด


ด้วยความปรารถนาดีจาก

นายแพทย์สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์

ผู้ช่วยเลขาธิการแพทยสภา
โดย: พูดแบบนี้ เอาแต่ได้ [15 ก.ย. 53 9:31] ( IP A:58.8.210.182 X: )
Add to Facebook  Add to Twitter  Add to Multiply  Add to Google  Add to Blogger  Add to Live
ความคิดเห็นที่ 1
   เหตุผลที่ต้องมีกฎหมายคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ให้บริการสาธารณสุข

การเกิดผลที่ไม่คาดหวังจากการรับบริการสาธารณสุข ซึ่งมักจะหมายถึงภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นที่เป็นเหตุให้ เกิดความพิการ หรือเสียชีวิต ซึ่งการให้บริการทางการแพทย์คือการบริการสาธารณสุขแบบหนึ่งมีคำกล่าวว่าการร ักษาทางการแพทย์นั้นเป็นศาสตร์แห่งความน่าจะเป็น และเป็นศิลป์แห่งความไม่แน่นอนนั่นคือการรักษาทุกชนิดแม้ให้การรักษาที่ไม่ม ีข้อผิดพลาดใดๆก็มีโอกาสเสี่ยงต่อการได้ผลที่ไม่คาดหวังได้เสมอมากน้อยตามเห ตุและปัจจัยของแต่ละราย อย่างเช่นการคลอดบุตรมีโอกาสเสียชีวิตของมารดาได้ในอัตราประมาณ 20 ต่อแสนของหญิงที่ตั้งครรภ์ การผ่าตัดหลอดเลือดในสมองโป่งพองและแตกแล้วที่หยุดชั่วคราว ผู้ป่วยมีอาการไม่รุนแรงและรู้ตัวดี เมื่อตรวจพบตำแหน่งแล้วก็ต้องผ่าตัดหนีบหลอดเลือดด้วยคลิปที่ทำด้วยโลหะไททา เนียม แม้การผ่าตัดจะเรียบร้อยดีก็อาจเกิดภาวะหลอดเลือดตีบจากปฏิกิริยาของเลือดที ่เคยออกมาก่อน ซึ่งอาจพิการหรือเสียชีวิตได้ในอัตราร้อยละ 5 นั่นคือในสภาวการณ์ที่พร้อมที่สุดแล้วสำหรับการรักษาโรคนี้

แต่ในความเข้าใจของสาธารณชนกลับเห็นว่าเป็นความเสียหายที่เกิดจากการรักษาเพราะก่อนการรักษาผู้ป่วยยังดี ไม่คิดถึงเหตุปัจจัยที่แท้จริงว่าโรคนั้นๆมีความเสี่ยงตามธรรมชาติของโรคเอง หรือหากไม่รักษาตายแน่นอน แต่เมื่อรักษาโดยผู้ทีชำนาญแล้วซึ่งใช้วิธีการเดียวกันรักษาผู้ป่วยส่วนใหญ่ หายดี แต่มีส่วนน้อยนั้นไม่ได้ผลดี
///////////////////////////////////////////////////////////////////////////
เหตุผลที่ไม่เห็นด้วย ๆๆๆๆๆๆๆๆๆ เนื่องจากมีการวิจัยจากสถาบันไอโอเอ็ม (IOM) ชี้ว่าความผิดพลาดทางการแพทย์ที่ป้องกันได้ทำคนไข้สหรัฐ ตายปีละ 44000-98000คน ซึ่งมากกว่าอุบัติเหตุรถยนต์ทำตาย (ไม่นับพวกเจ็บพิการ เอาเฉพาะที่ตายและป้องกันได้) ดังนั้นจึงเป็นเรื่องเศร้าสำหรับคนอาชีพแพทย์ที่ต้องป้องกันและแก้ไข ไม่ใช่แก้ตัวหรือแก้รัฐธรรมนูญมาคุ้มครองตัวเองที่ทำผิด เป็นเรื่องน่าละอาย เรื่องนี้องค์การอนามัยโลกก็ได้ยอมรับและตั้งโครงการความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยผู้ป่วย(หมอไม่ยอมรับและช่วยเหลือเท่าที่ควร) https://www.kaiseredu.org/topics_im.asp?id=137&parentID=70&imID=1
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

ทางการแพทย์เห็นว่าผลการรักษานั้นเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานแล้ว ด้วยเหตุนี้จึงมีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยมาตรา 80 (2) กำหนดว่ารัฐต้องส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันนำไปสู่สุขภ าวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้เอกชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพและการจัดบริการสาธา รณสุข โดยผู้มีหน้าที่ให้บริการดังกล่าวให้บริการซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐาน วิชาชีพและจริยธรรม ย่อมได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
//////////////////////////////////////////////////////////////////////////
เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ เพราะถ้าคุณทำดีแล้วกฎหมายก็คุ้มครองใครทำอะไรคุณไม่ได้อยู่แล้ว มาตรานี้ไม่จำเป็น ผมพูดเสมอว่าเหมือนกระทำชำเรารัฐธรรมนูญ เขียนไปเปลืองหมึกเปล่าๆ
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

ด้วยเหตุนี้ในโอกาสที่กลุ่มแพทย์ที่ห่างเหินการปฏิบัติงานร่วมกับกลุ่มเครือ ข่ายผู้ได้รับความเสียหายจากการบริการทางการแพทย์ (ที่ส่วนใหญ่เกิดจากการดำเนินของโรคที่เกิดขึ้นได้)ได้ผลักดันให้มีกฎหมายคุ ้มครองผู้ได้รับความเสียหายจากการบริการสาธารณสุข ซึ่งในฐานะที่เป็นแพทย์ผู้ปฏิบัติงานและเผชิญต่อผลที่ไม่คาดหวังได้สูง(ผู้เ ขียนเป็นประสาทศัลยแพทย์) มีความเห็นว่าผลที่ไม่คาดหวังหรือความเสียหายที่เกิดต่อผู้ป่วยนั้นไม่เพียง มีผลต่อผู้ป่วยเท่านั้น ตัวแพทย์ผู้รักษาก็ได้รับผลกระทบโดยที่แม้ญาติและผู้ป่วยจะเข้าใจเป็นอย่างด ีต่อความเสี่ยงที่แจ้งให้ทราบก่อนแล้ว(กรณีที่ไม่ใช่ภาวะเร่งด่วน) แต่ตัวแพทย์ก็ผิดหวังและเสียใจเช่นกัน

หากถูกกดดันจากความไม่เข้าใจของญาติที่เรียกร้องความรับผิดชอบต่อความเสียหา ยที่เกิดขึ้นอีกยิ่งกระทบกระเทือนจิตใจเป็นอย่างสูง หลายรายที่ทำใจไม่ได้ก็หยุดปฏิบัติหน้าที่ไปเลย
////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ เขาก็เลยออก พรบ และออกตังค์มาช่วยกันเองและช่วยหมอไม่ต้องจ่าย แล้วพวกหมอจะมาโวยมาขวางทำไม ตลกหาเหตุผมไม่ได้เลย
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
แต่สำหรับผู้เขียนและแพทย์ส่วนใหญ่ที่เคลื่อนไหวไม่เห็นด้วยต่อกฎหมายที่กำล ังเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรขณะนี้นั้น ยอมไม่ได้ที่จะเสียโอกาสในการช่วยเพื่อนมนุษย์จากความรู้ที่สั่งสมมาจากผู้ป ่วยจำนวนมากที่ไว้วางใจให้เรารักษา ซึ่งเราถือว่าผู้ป่วยก็คือครูของพวกเราเช่นกัน จึงขอเสนอให้ปรับปรุงในประเด็นหลักดังนี้

1.ชื่อของพรบ.ขอเปลี่ยนจาก “ความเสียหาย“ เป็นคำว่า “ผลกระทบ” จะได้ดูแลทั้งสองฝ่ายที่ได้รับผลกระทบเช่นกัน เป็นดังนี้ ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ.....
///////////////////////////////////////////////////////////////////////////
เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ภาษาไม่ได้ทั้งภาษาไทยและภาษากฏหมาย คุณทำภาษาทั้งสองแบบเพี้ยนไปหมด
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

2.เมื่อได้รับการชดเชยแล้วให้คดีความแพ่ง คดีความอาญา เป็นอันยุติ สำหรับข้อนี้มีนักกฎหมายแย้งว่าวิชาชีพแพทย์จะมีอภิสิทธิ์เหนือวิชาชีพอื่นเ ช่นวิศวกรที่ต้องรับโทษเมื่อออกแบบผิดทำให้ตึกถล่มต้องติดคุก หรือจะเหนือกว่าคนขับรถชนคนได้อย่างไร ความจริงแล้วที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้นั้นเพราะวิชาชีพแพทย์มีความไม่แน่นอนดัง กล่าวข้างต้นแล้ว แต่สำหรับวิชาชีพวิศวกรนั้นถ้าทำตามแบบแล้วแน่นอนว่าไม่เกิดความเสียหายแน่ คนขับรถถ้าปฏิบัติตามกฎจราจรก็ไม่เป็นตัวต้นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุแน่ แต่แพทย์นั้นแม้ทำอย่างถูกต้องแล้วก็อาจได้ผลไม่ดีได้
//////////////////////////////////////////////////////////////////////////
เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ วิชาแพทย์ถ้าทำถูกหลักก็จะไม่เสียหายและใครก็ฟ้องไม่ได้ ที่เสียหายและโดนฟ้องนั้น ก็เป็นแบบความตายที่ป้องกันได้ https://www.kaiseredu.org/topics_im.asp?id=137&parentID=70&imID=แม้ขับรถดีแล้วก็ยังมีอุบัติเหตุได้เช่นกัน หมาวิ่งตัดหน้าก็ตายห่าแล้ว อย่าว่าแต่เด็กวิ่งตัดหน้า
เวลาออกกฎหมายเลือกปฏิบัติไม่ได้ มิฉนั้น จะเป็นปัญหากระทบเป็นลูกโซ่ เช่นเมื่อหมอขอค่าวิชา เดี่ยวพยาบาลก็จะขอ คนงานก็จะขอ ฯลฯ ไม่ให้ก็ไม่ได้ สุดท้ายก็ต้องให้และคำว่า “แต่แพทย์นั้นแม้ทำอย่างถูกต้องแล้วก็อาจได้ผลไม่ดีได้” นั้น ก็เป็นข้ออ้าง ถ้าทำถูกต้องแล้วก็ไม่ต้องกลัวใครก็ฟ้องไม่ได้ ไม่ต้องหากฎหมายมาปกป้อง มีอภิสิทธิ์ อายเขา ผมยังอายแทนเลย
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

3.ผู้ที่ควรได้รับการชดเชยควรได้แก่กรณีที่เกิดจากข้อผิดพลาดของระบบบริการเ ช่นรักษาล่าช้าเพราะไม่มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทำให้ต้องส่งต่อไปอีกแห่งหนึ่ง กรณีเหตุสุดวิสัยเช่นภาวะน้ำคร่ำรั่วเข้าสู่กระแสเลือดทำให้หญิงตั้งครรภ์เส ียชีวิต การเกิดผลที่ไม่ได้คาดหมายไว้ว่าจะเกิดได้เป็นต้น
////////////////////////////////////////////////////////////////////////////
เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ถ้ารักษาล่าช้าเพราะไม่มีผู้เชี่ยวชาญ ทำให้ต้องส่งต่อแบบนี้ก็ไม่ได้ค่าชดเชยอยู่แล้ว รวมทั้งน้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือด คำยอดฮิตที่แก้ตัวได้ตลอด ก็ไม่ต้องจ่ายอยู่แล้ว เพียงแต่หลายๆกรณีไม่ใช่อย่างที่อ้างแบบนี้ ต้องจ่ายค่าเสียหายเขา และคนไข้เขาลงขันจ่ายตังค์กันเอง หมอจะโวยวายทำไม ไม่เข้าใจจริง
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

4.ควรมีบทกำหนดโทษต่อคณะอนุกรรมการที่ให้จ่ายเงินชดเชย โดยไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
////////////////////////////////////////////////////////////////////////////
เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ จ่ายไม่ดีติดคุกตามมาตรา 157 ข้อหาปฏิบัติหน้าที่มิชอบแบบที่แพทยสภาโดนฟ้องไง ไม่ต้องห่วงหรอก กฎหมายลงโทษคนผิดมีเพียบ แต่ศาลจะฟังและลงโทษตามฟ้องได้หรือไม่ก็ต้องชัดเจน ผิดจริงไม่รอดหรอก
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++


ด้วยความปรารถนาดีจาก

นายแพทย์สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์

ผู้ช่วยเลขาธิการแพทยสภา
////////////////////////////////////////////////////////////////////////////เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ อ่านที่ท่านเขียนมา จึงเป็นเหตุว่าทำไมคนเขาพยายามกันสภาวิชาชีพไม่ให้เกี่ยวข้อง เขากลัวไม่ได้รับความเป็นธรรม บทเรียนที่เขาเจอในอดีตทำให้เขาไม่ไว้ใจสภาวิชาชีพ ซึ่งผมก็เห็นว่า พวกคุณควรถอยและไปปรับปรุงให้คนเขาเลื่อมใสศรัทธาแล้วเอาเกี๊ยวไปเชิญมาจะดูดีกว่าไหม ชีวิตคนอยู่ดีมีสุขหรือมีทุกข์ก็ไม่น่าจะเกินร้อยปี เวลาเหลือน้อยก็ทำอะไรให้ดีดีไว้ให้ลูกหลานใช้ไม่ดีกว่าหรือ ดีกว่าสร้างเวรสร้างกรรมไว้ให้ลูกหลานใช้ต่อ
ผมไม่เห็นด้วยกับท่านผู้ช่วยเลขาฯ
เทพ เวชวิสิฐ สมาชิกแพทยสภา 8315
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
โดย: ไม่เห็นด้วย [15 ก.ย. 53 10:00] ( IP A:58.8.210.182 X: )
ความคิดเห็นที่ 2
   ส่วนการคุ้มครองผู้ให้บริการสาธารณสุข ถ้าเป็นของรัฐ รัฐจ่ายแน่นอน
ถ้าเป็นของเอกชน พวกหมอและพยาบาลก็ต้องไปลงขันหักเงินเดือนกันเอง จะมาเอาเงินคนไข้เขาไม่ได้ คนละส่วนกัน
ไม่ได้มีใครห้ามคุ้มครองหมอพยาบาลที่ทำงาน แต่ไปเอากฎหมายของตัวเองอย่ามาปนกับคนไข้ เงินคนละส่วน
โดย: แยกแยะหน่อย [15 ก.ย. 53 10:04] ( IP A:58.8.210.182 X: )
ความคิดเห็นที่ 3
   « ความเห็นที่ #4 เมื่อ: วันนี้ เวลา 08:27:26 »

เห็นด้วยครับ
แต่มาตรฐานต้องเป็นมาตรฐานจริงๆ
ไม่ใช่ว่าทำชุ่ยๆแล้วบอกว่านี่คือมาตรฐาน
ต้องปรับปรุงมาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปเสียก่อน
ไม่ใช่กำหนดมาตรฐานเอง

การคลอด อาจตายได้ แต่ถ้าถามว่า ตายเพราะให้เลือดผิดหมู่
เนื่องจากตกเลือดหลังคลอด นี่นับรวมอยู่ใน 20/แสน ด้วยหรือเปล่า

ต้องมาตีความคำว่าสุดวิสัยของแต่ละโรคกันโดยละเอียด
สุดวิสัยคือ ได้ทำในสิ่งที่ควรจะทำและสามารถทำได้ในเวลาที่ควรจะทำแล้ว

แล้วมันยังเกิดปัญหาขึ้น ถ้าเอาหมอมาอีกร้อยคนก็ทำแบบนี้
ถ้าทำแล้วมันก็ยังตายอยู่ดี นี่เรียกว่าสุดวิสัย

ไม่ใช่ว่าฉีดยาตระกูล betalactam ซึ่งผู้ป่วยไม่เคยได้รับมาก่อน
แล้วให้ผู้ช่วยพยาบาลสังเกตุอาการ
พอเค้ารายงานว่าผู้ป่วยมีผื่น ก็โทรมาสั่งฉีด CPM
รายงานอีกว่าเริ่มหอบ ก็ให้พ่นยา
พอบอกว่า BP drop จึงค่อยโผล่ศีรษะมาดู
จนคนไข้ arrest แล้วมาบอกกับศาลว่า
ปั๊มหัวใจเต็มที่ นานกว่าสองชั่วโมง
มันสุดวิสัย ซึ่งอาจเกิด anaphylactic ได้

กรณีอย่างนี้ จะว่าอย่างไรดีครับ จ้าวววววววนายยยยยยย

ถ้าศาลพิจารณาแล้ว ว่าไม่มีเวลาไปดูเพราะติดใส่ท่อช่วยหายใจคนไข้อีกคน
เพราะภาระงานมันเยอะ ก็ไปอย่าง
แต่ถ้ามัวแต่ไปนั่งเฝ้าหุ้น จะให้ว่าอย่างไรครับ

« แก้ไขครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ เวลา 08:30:02 by a_few_good_men »

ส่งโดย: a_few_good_men
สถานะ: Junior Member
จำนวนความเห็น: 64
โดย: ยังพอมีคนดีเหลืออยู่บ้าง [15 ก.ย. 53 10:14] ( IP A:58.8.210.182 X: )
ความคิดเห็นที่ 4
   Reducing Medical Errors




Background Brief

Attention to medical errors escalated over five years ago with the release of a study from the Institute of Medicine (IOM), To Err is Human, which found that between 44,000 and 98,000 Americans die each year in U.S. hospitals due to preventable medical errors. Hospital errors rank between the fifth and eighth leading cause of death, killing more Americans than breast cancer, traffic accidents or AIDS. Serious medication errors occur in the cases of five to 10 percent of patients admitted to hospitals. These numbers may understate the problem because they do not include preventable deaths due to medical treatments outside of hospitals.
Since the release of the IOM study, there has been greater focus on the quality of healthcare provided in the U.S. Quality experts agree that one of the most common cause of errors is the medical system itself, not the individuals functioning within the system. Publication of the IOM report triggered substantial public and private sector activity, including the formation of the National Patient Safety Foundation by the American Medical Association, the creation of a non-punitive sentinel events reporting system by the Joint Commission for the Accreditation of Healthcare Organizations, and the establishment of new public private partnerships by the Veterans Health Administration and others.

Still, experts agree that there is much more work to do. For example, fewer than 3% of hospitals have implemented computerized drug ordering systems which one study found to reduce medication errors by 86%. In a December 2002 Kaiser Family Foundation survey, only 5% of physicians identified medical errors as a top health care concern. Shortly after the release of the 1999 IOM report, Congress gave $50 million to the U.S. Agency for Healthcare Research and Quality for research into the causes and prevention of medical errors. Beyond that, a flurry of legislative proposals in the 106th and 107th Congress resulted in stalemate over issues such as whether error reporting should be mandatory or voluntary and confidential or publicly released. Meanwhile, controversy over how to best address medical errors has entered into other debates, incuding whether the federal government should restructure the current medical malpractice system. States have also been a part of this debate, as several now have mandatory error reporting rules and statutes with a patchwork of differing requirements.

As federal and state policymakers debate the issues related to reducing medical errors, discussion will likely focus on several key issues, including:

What kind of standardized national reporting of medical errors should be established? Should it be voluntary or mandatory? Should it be confidential or publicly reported? In which cases?


What agency should be designated to receive error reports? What authority should the agency have to act on reports?


What kind of reporting may or should be required for “near miss” events? What protections should be provided to reporters of errors and near misses? What effect should this new reporting system have on existing state reporting systems?


Should Congress set national standards for mandatory overtime by nurses and limitations on work hours for medical interns and residents, both of which have been tied to increased medical errors?


Should Congress mandate hospitals to install computerized drug order entry systems and other technologies with proven ability to reduce errors? If so, should the federal government provide financial support to some or all hospitals to install these systems?


Should the federal government set clear goals for the reduction of errors over a period of years, particularly for Medicare and Medicaid patients? Should penalties and/or incentives be created for providers to reduce errors?


What steps can Congress and state legislatures take to alleviate a serious national shortage of nurses – because many medical errors have been linked with understaffing of nurses and use of temporary nurses?


What is the role of regulatory agencies such as the Joint Commission on the Accreditation of Healthcare Organizations and the National Committee on Quality Assurance in national reform on medical errors?


Should any reports submitted under a medical errors reporting system be admissible as evidence in medical malpractice cases?
Acknowledgements: This issue module was prepared by Allison Woo, Usha Ranji, and Alina Salganicoff of the Kaiser Family Foundation.

Updated: May 2008
โดย: วิธีแก้ไขฝรั่งเขาไม่ชำเรารัฐธรรมนูญ [15 ก.ย. 53 10:36] ( IP A:58.8.210.99 X: )
ความคิดเห็นที่ 5
   หมอสุกิจ เขียนบทความได้มาตรฐานเป๊ะของแพทยสภา
สมแล้วที่อยู่คอกเดียวกัน
โดย: ซ่องเดียวกัน [15 ก.ย. 53 23:06] ( IP A:58.9.189.5 X: )
คลิก เพื่อเปลี่ยนกลับไปแสดงความคิดเห็นแบบเดิม

ชื่อไฟล์รูปห้ามมีอักขระพิเศษ เช่น (#),(<),(>),(&) เป็นต้นค่ะ
ชื่อ / e-mail :    แทรกไอคอนน่ารักๆในข้อความ
e-mail :
ส่งอีเมลทุกครั้งที่มีการตอบกระทู้       (ใส่ Email เมื่อต้องการให้ส่ง Email เมื่อมีคนมาโพสในกระทู้)


CAPTCHA code



คลิกที่นี่เพื่อกลับหน้าบ้าน