Dr Santawat Asavaroengchai, Bureau of Policy and Strategy, Ministry of
|
|
| | Thailand Dr Santawat Asavaroengchai, Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public Health, who also participated in the Technical Discussions on Patient https://www.searo.who.int/LinkFiles/Quality_and_safety_in_health_care_HSD-297-First_Regional_Workshop_on_Patient_Safety.pdf A Report Page 16 Safety at the CCPDM in June 2006, described the patient safety situation in Thailand. Based on an audit of medical records at two major hospitals, the prevalence of hospital-related adverse events in Thailand is similar to that prevailing in industrialized countries: 10% of inpatients developed adverse events, 10% of adverse events led to death, and half of the events were preventable. As in other countries in the Region, there has been a dramatic increase in the number of complaints and legal suits filed by patients with the Thai Medical Council. This trend has damaged the doctor-patient relationship and contributed to health care professionals resistance to reporting adverse events. The fear of litigation has pushed the problem of medical errors and adverse events underground where it cannot be effectively addressed. The fear of blame and punishment is thus thwarting efforts to improve patient safety and the quality of care in Thailand. A more transparent and trusting environment needs to therefore be cultivated as a first step to addressing patient safety. It is only in such an environment that information on adverse events can be collected, the nature and underlying causes understood, and better policies formulated and implemented. Efforts toward the development of a national quality of care policy were described. In 1996, the first Hospital Standard for Quality Improvement and Accreditation was introduced in 16 pilot hospitals. Many hospitals, at all levels of the health care system, are currently using this Standard as a guide for quality improvement. The major focus of the Standard is on clinical risk management. The latter entails: strong hospital leadership physician participation cross-functional teamwork total quality management In 2002, a national health security Act was introduced which addressed the issue of compensation to patients for unintentional harm. This improved doctor-patient relationship in the context of the growing problem of litigation. In 2003, patient safety was chosen as the theme of the 4th National Forum for Quality Improvement to raise awareness about the safety of patients in the hospital quality improvement process. First Regional Workshop on Patient Safety Page 17 In 2006, the Institute of Quality Improvement and Hospital Accreditation of Thailand established a set of national patient safety goals for hospitals. These focus on the following eight priority areas: Patient identification Operation safety Medication safety Health care-associated infection Maternal and neonatal morbidity Delayed rescue Acute coronary syndrome Communication failure The presentation was concluded with a set of proposed activities and potential areas for regional collaboration. The proposed activities are: Establish effective, careful and participatory surveillance and evidence-based risk management strategies and systems; Build a strong governmental and societal commitment to creating a culture of patient safety, and Develop a regional strategic plan and patient safety movements with active involvement of patient groups. | โดย: ใคร มีใครรู้เรื่องไหม [4 ต.ค. 53] ( IP A:58.8.210.75 X: ) |  |  | | |
ความคิดเห็นที่ 1 เมื่อไหร่แกจะโผล่มาแจมเรื่อง พรบ
| โดย: คนไหนวะ [4 ต.ค. 53] ( IP A:58.8.210.75 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 2 คนไหนซ้ำกันก็คนนั้น
| โดย: ฟฟ [4 ต.ค. 53] ( IP A:58.8.210.75 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 3 Based on an audit of medical records at two major hospitals, the prevalence of hospital-related adverse events in Thailand is similar to that prevailing in industrialized countries: 10% of inpatients developed adverse events, 10% of adverse events led to death, and half of the events were preventable. | โดย: ปากอมอะไรอยู่ เคยแหกปากพูดไหม อยู่ไหนว่ะ ดีแต่ไปเห่าเมืองนอก [4 ต.ค. 53] ( IP A:58.8.210.75 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 7 เมื่อวันที่ 23 ก.พ. นพ.ไพจิตร์ วราชิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวภายหลังเป็นประธานในพิธีมอบประกาศนียบัตรผู้สอบผ่านการรับรองมาตรฐาน คุณภาพผู้ใช้รหัสโรคระดับกลางของกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2552 ว่า กระทรวงสาธารณสุขได้เร่งพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของเจ้าหน้าที่เก็บบันทึกข้อมูล สาเหตุการป่วยการตายของประชาชนในโรงพยาบาลทุกแห่ง ทั้งภาครัฐและเอกชน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวต่อว่า ข้อมูลดังกล่าวมีความสำคัญมาก ต่อการพัฒนาระบบสาธารณสุขของไทย และระดับโลก ในการนำมาใช้เพื่อวางแผนในการป้องกันเฝ้าระวังโรค และดูแลสุขภาพของประชาชนได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ โดยได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพผู้ลงรหัสโรค และขึ้นทะเบียนรับรองมาตรฐานผู้ลงรหัสโรค ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ ขณะนี้ประเทศไทยมีผู้สอบผ่านแล้ว 514 คน
ด้าน นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กล่าวว่า กระทรวงสาธารณสุขมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการลงรหัสโรคผู้ป่วยมากกว่า 1,500 คน โดยในการรวบรวมวิเคราะห์จำนวนและสาเหตุการป่วยและการเสียชีวิตทั่วประเทศนั้น มีรหัสแยกรายโรครวมกว่า 30,000 รหัส ซึ่งในปี 2552 มีผู้ป่วยใช้บริการตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก 190 ล้านครั้ง เฉลี่ยคนไทยป่วย 2.98 ครั้งต่อคน มีผู้ป่วยที่ต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล 13 ล้านครั้ง โดยเฉพาะในปี 2551
++++++++++++++++++++++++++++++++++
ถ้าคิดตามสถิติ หมอกระทู้ข้างบน
10 % ของ 13 ล้านผู้ป่วยใน เกิดแทรกซ้อน = 1.3 ล้าน
10 % ของการแทรกซ้อน เสียชีวิต = 1.3 แสน
ครึ่งหนึ่งของการเสียชีวิตป้องกันได้ = 65,000 | โดย: สถิติจากปลัด [4 ต.ค. 53 16:19] ( IP A:210.86.181.20 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 8 ที่มา https://news.udonzone.com/edu/%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%B03-9%E0%B9%81.html | โดย: ดูได้หรือเปล่า [4 ต.ค. 53 16:23] ( IP A:210.86.181.20 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 9 ต้องก็อปทั้งหมดสี่บรรทัดไปวางนะถึงจะอ่านได้
ต่อๆ.....
ด้าน นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กล่าวว่า กระทรวงสาธารณสุขมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการลงรหัสโรคผู้ป่วยมากกว่า 1,500 คน โดยในการรวบรวมวิเคราะห์จำนวนและสาเหตุการป่วยและการเสียชีวิตทั่วประเทศนั้น มีรหัสแยกรายโรครวมกว่า 30,000 รหัส ซึ่งในปี 2552 มีผู้ป่วยใช้บริการตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก 190 ล้านครั้ง เฉลี่ยคนไทยป่วย 2.98 ครั้งต่อคน มีผู้ป่วยที่ต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล 13 ล้านครั้ง โดยเฉพาะในปี 2551 ทั่วประเทศมีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 397,327 คน
คำนวณว่า 397,327 ตายแบบป้องกันได้ 65,000 = 16.3% หรือประมาณ 1 ใน 6 ของการเสียชีวิตของผู้ป่วยใน มาจากเหตุแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ | โดย: ความจริงปรากฎแล้ว [4 ต.ค. 53 16:54] ( IP A:210.86.181.20 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 11 โอกาสตายจากความผิดพลาดที่ป้องกันได้ จากการรักษา 203 ล้านครั้ง คือ 65,000 x 100 / 203,000,000 = 0.0320197 %
พูดง่ายๆคือ ทุกๆ 1 แสนการรักษา จะตายแบบที่เข้าข่ายรับเงินจาก พรบ.ได้ 32 ราย ถ้าคิดจากผู้ป่วยใน 13 ล้านคน ตาย 397,327 คิดเป็น 3.056 % ในจำนวนนี้ตายโดยป้องกันได้ 65000 x 100 / 13,000,000
= 0.5 % ที่ตายโดยไม่สมควร แปลว่า ทุกๆ 1 พันคน ที่ต้องนอนโรงพยาบาล จะมีอัตราตาย 30คน ในจำนวนนี้มีสิทธิ์ถูกหวย 5 คน
ข้อมูลของฝ่ายต้านพรบ ที่พยายามบอกว่า การตรวจรักษา 200 ล้านครั้ง มีเรื่องร้องเรียน 100 ครั้ง นั้นเชื่อว่าจริง คิดเปอร์เซนต์ได้ 100 x 100 / 203,000,000 = 0.00049261 %
แต่การเอาตัวเลขที่มีการร้องเรียน 0.0005 เปอร์เซนต์ มาสรุปว่ามีความผิดพลาด 0.0005 เปอร์เซนต์ มันคนละเรื่อง
หลอกได้แต่คนโง่เท่านั้น | โดย: เจ้าบ้าน [16 ต.ค. 53 15:02] ( IP A:124.122.241.232 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 14 ก็บอกแล้วว่า แม่ผมท่านสั่งห้ามเป็นหนักหนาว่า
อย่าทำตัว HIA เติมไม้โท
เฮ้อ หมอที่ "ร่วมด้วยช่วยหลอกขายยาแก้โรคเอดส์ V 1" จนชาวบ้าน ตายไปด้วยความผิดหวัง ตั้งเท่าไหร่?????
แล้วหมอคนเดียวกันนี้หรือ ที่สมาพันธ์ผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ฯ ตะหวักตะบวยเนี่ย ตั้งให้เป็นรองประธานสมาพันธ์
ตกลงหมอตอแหล ในสมาพันธ์ "โจรๆเนี่ยนะ"
แล้วคนอื่นๆในสมาพันธ์จู่ๆโผล่นี่ ใครคนไหนบ้างล่ะที่ ไม่ตอแหล เนี่ย???? | โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [22 ต.ค. 53 10:50] ( IP A:58.8.109.122 X: ) |  |
|