ความคิดเห็นที่ 1 สถิตินี้ WHO เขาว่าเก่งพอๆกับประเทศอุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้วนะ สงสัยไม่ได้เอามาจากรพ.ธรรมดาแน่ว่ามะ | โดย: .ไม่เชื่อว่ามีตายแค่นี้ [29 ธ.ค. 53 10:12] ( IP A:210.86.181.20 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 2 ในต้นฉบับเค้าใช้คำว่า two major hospitals แสดงว่าต้องเป็นโรงบาลใหญ่จริงๆ ผมว่าน่าจะเป็นโรงเรียนแพทย์อาจจะเป็นจุฬา รามา หรือ ศิริราช
ระหว่างโรงพยาบาลที่เป็นโรงเรียนแพทย์กับโรงพยาบาลทั่วไป คุณคิดว่าที่ไหนมีอัตราคนไข้ในตายสูงกว่ากัน คำตอบคือ โรงเรียนแพทย์แน่นอน !!
เพราะโรงบาลทั่วไปหรือโรงบาลเอกชน พอคนไข้มีอาการหนักมากขึ้นหรือไม่ดีขึ้น เค้าก็จะส่งต่อโรงบาลใหญ่ๆกัน ส่วนใหญ่ก็โรงเรียนแพทย์ ดังนั้น อัตราการตายคนไข้ในจึงสูงกว่าโรงบาลอื่นๆ
ผมจึงขอตอบเจ้าของกระทู้เลยว่า อัตราตายทั้งประเทศจริงๆน้อยกว่านี้ แน่นอน
แต่คุณไม่ต้องรอหรอก ไม่มีใครหาตัวเลขนี้ได้หรอกครับ เพราะต้องใช้งบประมาณมหาศาล แล้วก็ไม่มีใครยอมอนุมัติให้ทำหรอก มันไม่เกิดประโยชน์อะไรกับสังคมเลย | โดย: Gazza [29 ธ.ค. 53 11:11] ( IP A:58.8.176.36 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 3 ร.ร. แพทย์ หรือไอซียู อัตราตายมากกว่า รพ เล็กๆ หรือห้องธรรมดา แต่นี่เขาไม่ได้วัดอัตราตาย เขาวัดอัตราความผิดพลาด อัตราตายจากความผิดพลาด อัตราตายจากความผิดพลาดที่ป้องกันได้ /ป้องกันไม่ได้ ซึ่งผมมองว่า ร.ร.แพทย์ และไอซียู เขาน่าจะละเอียดรอบคอบกว่า ความผิดพลาดน่าจะน้อยกว่า แต่ก็ไม่แน่ ผมก็ไม่อยากจะใส่ร้าย แต่ผมว่าเรื่องแบบนี้ ในต่างประเทศน่าจะมีตัวเลข พวกปรมาจารย์จะรู้ดี เพียงแต่หุบปากเงียบ การสรุปง่ายๆข้างเดียว ว่า ร.ร.แพทย์ตายมาก โทษไม่ได้ ก็จะเอียงไปหน่อย | โดย: ฟฟ [29 ธ.ค. 53 21:46] ( IP A:58.8.211.60 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 4 คุณหมอ ฟฟ ลองอ่านดูดีดีครับ 10% of inpatients developed adverse events, 10% of adverse events led to death, and half of the events were preventable.
แสดงว่าเค้า audit แฟ้มคนไข้ในทั้งหมด แล้วเลือกเฉพาะ adverse events ซึ่งต้องเป็น adverse events ที่ไม่คาดคิด ไม่ได้เป็นจากตัวโรคเดิมของผู้ป่วย ตรงนี้เค้าได้ตัวเลข 10% อันนี้ผมเชื่อครับ เพราะโรงบาลใหญ่หรือเล็กก็ไม่ได้มีตัวแปรอะไร โรงบาลใหญ่อาจจะได้เปรียบกว่าด้วยซ้ำเพราะบุคลากรพร้อมกว่า
หลังจากนั้นเค้าก็เอาแฟ้มคนไข้ที่มี adverse events มาดูซ้ำว่าสุดท้ายลงเอยอย่างไร ตรงนี้เค้าได้ว่า ตาย 10%ของคนไข้ที่มี adverse events ทั้งหมด หรือ 1% ของคนไข้ในทั้งหมดของโรงบาล (ตามผมทันนะ)
ตรงนี้แหละครับ ที่ผมพูดถึงว่าโรงบาลใหญ่หรือโรงเรียนแพทย์ตายเยอะกว่า เพราะพอมี adverse events ที่ไม่คาดคิด ส่วนใหญ่โรงบาลเล็กๆหรือเอกชน เค้าส่งต่ออยู่แล้วถูกมั๊ยครับ อัตราการตายจาก adverse events ในโรงบาลเล็กหรือเอกชน จะต่ำมากครับ เพราะเค้าส่งต่อหมด
จากนั้นเค้าก็เอาแฟ้มคนไข้ที่ตายจาก adverse events ทั้งหมดมาดูว่าป้องกันได้มั๊ย เค้าได้ว่า 50% ป้องกันได้ หรือ 0.5%ของผู้ป่วยในตายจาก adverse events ที่ป้องกันได้ ตรงนี้แหละครับ เป็นเรื่อง !! เพราะคำว่า ป้องกันได้ เอาอะไรมาตัดสินเพราะเป็นการดูแบบย้อนหลัง มันพูดง่ายครับ เก่งทุกคน ตรงนี้เราไม่รู้ว่าหมอสรรธวัชเค้าใช้วิธีอะไร ใช้ทีมอาจารย์แพทย์จากไหนมาตัดสิน เมื่อไม่มีข้อมูลก็ขอไม่วิจารณ์
แต่ผมไม่ได้ว่าอะไรหมอสรรธวัชที่เค้าทำแค่ 2 โรงบาลไป present WHO แทนภาพรวมทั้งประเทศ เพราะอย่างที่บอก งบมันจำกัด เค้าก็บอกแล้วว่าทำแค่ 2 โรงบาล ได้ตัวเลขเป็นแบบนี้
คนที่สมควรโดนว่า คือ คนที่เอาข้อมูลที่มาจาก 2 โรงบาลมาคำนวณกับข้อมูลที่มาจากทั้งประเทศ ได้ว่า "คนไข้ที่ตายจากมือหมออย่างป้องกันได้ปีละ 65000 คน" อันนี้สิน่าด่า !!!
จริงมั๊ยครับทุกท่าน ?????? | โดย: Gazza [30 ธ.ค. 53 13:43] ( IP A:61.90.17.112 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 5 ตรงนี้แหละครับ ที่ผมพูดถึงว่าโรงบาลใหญ่หรือโรงเรียนแพทย์ตาย เยอะกว่า เพราะพอมี adverse events ที่ไม่คาดคิด ส่วนใหญ่โรงบาลเล็กๆหรือเอกชน เค้าส่งต่ออยู่แล้วถูกมั๊ยครับ อัตราการตายจาก adverse events ในโรงบาลเล็กหรือเอกชน จะต่ำมากครับ เพราะเค้าส่งต่อหมด อันนี้ไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเอกชนเขาจะส่งต่อเมื่อไม่มีเงินรักษาต่อ adverse events ที่เขารักษาไม่ได้มีน้อย ส่วนโรงพยาบาลเล็กเขาก็มักจะรักษา adverse events ที่เกิดขึ้นเว้นแต่ว่าญาติจะขอให้ส่งต่อ และถ้าส่งต่อ adverse events ก็ไม่ได้เกิดใน รพ ใหญ่ ต้องไม่ถือว่า เกิด adverse events ใน รพ ที่วิจัย ส่วน อะไรป้องกันได้ อะไรป้องกันไม่ได้ ไอโอเอ็ม (IOM) เขานิยามไว้แล้ว criteria ชัดเจน เพียงแต่ต้องไปอ่านเอาเอง ผมจำได้คร่าวๆว่าเขาตั้งนิยามไว้ก่อนแล้ว ผมว่าหมอสรรธวัชก็คงใช้หลักเดียวกัน มิฉนั้นจะอ้างอิงกันไม่ได้ ผมว่าเขาเอามาอ้างอิง จากสองโรงพยาบาล เขาก็อนุมานจากข้อมูลเท่าที่มี ก็น่าจะพอใช้เป็นสมมุติฐาน คุณก็แย้งได้ แต่ก็ไม่น่าจะเสียหายหรือผิดความจริงเท่าไหร่ คุณจะแย้งก็ได้ แต่หากว่าคุณแย้งเพราะคุณจะทำลายน้ำหนักเพราะเขาเป็นฝ่ายตรงข้ามคุณจะไม่ให้เหลือเครดิตก็คงจะไม่ได้ อย่างน้อยเขาก็พยายามอนุมานเอา และก็ไม่ได้ปิดตัวเลขที่มา ผมก็ว่าเขาก็พยายามได้ไม่น่าจะเสียหาย แต่แน่จริงผมก็ว่ากระทรวงน่าจะตั้งหน่วยวิจัยดูก็ได้นะ แต่ผมบอกตรงๆ หลวงทำอะไรก็เน่าสิ้นดีในสายตาผม ตอนตรวจสอบการบล็อกหลังด้วยมาร์เคนก็หายเงียบไปทีหนึ่งแล้ว | โดย: ฟฟ [30 ธ.ค. 53 17:10] ( IP A:58.8.240.82 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 6 Synthesizing and interpreting the findings in the literature pertaining to errors in health care is complicated due to the absence of standardized nomenclature. For purposes of this report, the terms error and adverse event are defined as follows: An error is defined as the failure of a planned action to be completed as intended (i.e., error of execution) or the use of a wrong plan to achieve an aim (i.e., error of planning).18 An adverse event is an injury caused by medical management rather than the underlying condition of the patient. An adverse event attributable to error is a preventable adverse event.19 Negligent adverse events represent a subset of preventable adverse events that satisfy legal criteria used in determining negligence (i.e., whether the care provided failed to meet the standard of care reasonably expected of an average physician qualified to take care of the patient in question).20 When a study in the literature has used a definition that deviates from the above definitions, it is noted below. | โดย: iom [30 ธ.ค. 53 17:34] ( IP A:58.8.240.82 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 7 พูดยากครับ คุณหมอ ฟฟ อาจมีประสบการณ์แบบนึง ผมก็มีแบบนึง และมั่นใจว่า มากพอสมควรที่จะชี้แนะหรือแย้ง ได้ในบางกรณี
คุณหมอ ฟฟ ว่า อัตราการตายคนไข้ในจาก adverse events ที่ preventable ควรจจะอยู่ที่ ไม่เกิน กี่เปอร์เซนต์ครับ
เอาความเห็นของคุณหมอครับ หรือถ้ามีข้อมูลประเทศอื่นหรือมาตรฐานสากล ช่วยบอกด้วยครับ | โดย: Gazza [30 ธ.ค. 53 18:15] ( IP A:61.90.17.112 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 8 ผมว่าไม่ใช่ก็ใกล้เคียง แต่อย่างว่าผมก็อยู่กับความผิดพลาดรายวัน ก็รู้สึกว่าจะเยอะหน่อย แต่ที่แน่ๆ ผิดพลาดแล้วตายแบบป้องกันได้มีจริงและไม่ใช่น้อย | โดย: ฟฟ [30 ธ.ค. 53 20:46] ( IP A:58.8.240.82 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 9 ก็ ม รึง ผ่าแต่จิ๋ม จะไปรู้อะไรล่ะ ฟฟ | โดย: เอาแต่ด่าชาวบ้าน แต่ตัวเองหาแต่เงิน [5 ม.ค. 54 12:15] ( IP A:119.46.244.242 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 10 แล้วสถิติของมรึงว่าเท่าไหร่วะ กี่คนว่ามา | โดย: มันน่าด่ามั้ย [5 ม.ค. 54 14:52] ( IP A:210.86.181.20 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 11 แพทยสภา ไม่รับรู้ว่ามีหมอทำคนไข้เจ็บ/ตาย/พิการ แบบป้องกันได้
เพราะเกือบ 100% ที่ร้องเรียนหมอเข้าไป บอกไม่มีมูล ซะทั้งนั้น
สธ. เองโดยสำนักนโยบายและแผน อุตส่าห์มีทีมงานเก็บรวบรวมข้อมูลคนตายทั้งประเทศได้ตั้งเป็น 10 ปี ต่อเนื่อง ก็ไม่ยักมีข้อมูลของคนเจ็บ/คนตายจากหมอทำ
มาคราวนี้คุณหมอสรรธวัช อาสาทำขึ้นอย่างจำกัดจำเขี่ยงบ
ก็ดั๊นมีหมอ (แอบอ้าง???) ว่าเป็นข้อมูลเชื่อไม่ได้ ใสสีตีใข่เกินจริงซะงั้น
สงสัยงานของคุณหมอสรรธวัช คง จะไป "ตีโดนกลางแสกหน้า" หมอหมอจอมตอแหลบางคน หรือหลายคนในเมดิคอลฮับ ก็ไม่รู้มั๊ง??
เอางี๊ ดีไหมครับ????
ท่านจ้าวบ้านช่วยโทรฯสอบถามที่หมายเลข "13" หรือ "1133" ทีดีไหมครับ??? ถ้ายังไม่ได้คำตอบที่น่าเชื่อถือ
ก็ลองที่หมายเลข 1137 จ.ส. 100 ก็ได้ หรือที่
รายการ "ร่วมด้วยช่วยกัน" ก็น่าจะได้อีกเหมือกันนะ ผมว่า เฮ้อ
ยังไง ไม่ยังไงก็ตามนะ ไม่ใช่ "หมอนะ" ที่เจ็บที่ตายน่ะ
เถียงกันไปมา ที่เถียงกันน่ะ ไม่ได้โดนเองซักคน
แต่คนที่โดนน่ะ คนไข้ ที่ไม่ใช่หมอท้างน้าน หรือ ท่านจ้าวบ้านจะเถียง?? | โดย: คนรู้ทัน และรู้จริงเรื่องหมอตอแหล [6 ม.ค. 54 10:59] ( IP A:61.90.41.174 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 13 โถ พ่อตัวเงินตัวทอง
ยังไม่หายเซ่อ อีกฤๅ?? | โดย: คนรู้ทัน และไม่เคยโดนตอกหน้าว่าโกหก [7 ม.ค. 54 9:50] ( IP A:61.90.15.63 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 14 สูตรเดิม ?!!? ไปไหนมา สามวาสองศอก
ไม่เป็นไร เรารอได้
พลาดปล่อยไก่มาอีก โดน"ตบเกรียน"อีกแน่ 5555+ | โดย: Gazza [7 ม.ค. 54 14:15] ( IP A:58.11.81.244 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 15 อัดมันเข้าไป เด๋วเจอ 11 ตบสวน | โดย: 2510 [11 ม.ค. 54 23:16] ( IP A:124.122.26.27 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 16 ใช่ๆ ตบสวน ... สวนไปคนละทางเลย
พูดไม่รู้เรื่องเลย แถตลอด 555+ | โดย: Gazza [13 ม.ค. 54 12:09] ( IP A:58.11.82.223 X: ) |  |
|