ความคิดเห็นที่ 1 หมอทั้งประเทศคงบ้าและเมา
หมอที่ไม่ค้านคือหมอที่ไม่ได้ตรวจคนไข้แล้วและมีโอกาสนั่งเป็นกรรมการกองทุน โดยมีค่าบริหารจัดการ 10% ของกองทุน คิดแล้วก็มีเงินให้กรรมการถลุงเล่นไม่ต่ำกว่า 1000 ล้าน | โดย: ภาษีข้อยทั้งนั้น [5 มี.ค. 54 18:11] ( IP A:182.52.121.58 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 2 คุณก็ว่าเขา กรรมการเขาก็คงรับสมัครและค้ดเลือกเอา ใครก็คงสมัครได้ คุณเห็นว่าแด็กได้และแด็กดีก็สมัครได้นี่นา แด็กไม่ดีติดคุกคดี 157 จะหาว่าไม่เตือน แด็กจนคนเขาเอาเงินแสนที่ไปฟาดหัวเขามาคืน อายเขาไหมละ หากคัดเลือกไม่เป็นธรรมก็ไปฟ้องศาลปกครองเอา คุณก็ว่าแต่ 10 % ของสวีเดจเขา 18 % เขาจะต้องจ้างแพทย์ผู้เชี่ยวชาญมาตรวจสอบเวชระเบียนกรณีที่ขอเงิน พวกนี้ค่าตัวคงไม่ถูกเท่าไหร่ เงินบริหารจัดการก็ประมาณนี้แหละ สมัยก่อนเงินสวัสดิการเรียกจากบริษัทยาก็ประมาณ 15 % ก็เงินเก๋าเจี๊ยะภาษีกรูทั้งนั้น ไม่เอาหน่า พูดกันด้วยเหตุผล ไม่ใช่ใส่ร้ายกันแบบไม่มีเหตุผล อ่านนี่ก่อนไหม EDITORIAL
Medical bill needs clearing Published: 4/03/2011 at 12:00 AM Newspaper section: News
Let us admit it. Medical errors are an everyday reality whether in crowded state hospitals or fancy private ones. The challenge is how to fairly compensate patients and ensure sufficient protection for the physicians who have done their best under the circumstances.
The no-fault medical compensation draft bill aims to do just that. It is incomprehensible, therefore, why the Medical Council is fiercely opposed to this bill, resulting in an over-long delay to its deliberation in parliament. Last week, health activist Preeyanant Lorsermwattana staged a sit-in protest in front of parliament when the Abhisit government was again going to put off discussing the bill. A small army of some 100 police officers rushed the protest site to shoo her away. In the public outcry that followed, Prime Minister Abhisit Vejjajiva eventually announced he would sponsor the draft bill as had been promised. It was the right move. There is a real need for legislation to heal the increasingly strained doctor-patient relationship and to prevent the number of medical lawsuits from exploding, given the rising public frustration at the medical profession's indifference.
The Medical Council says the bill as it stands will put physicians and other health personnel at higher risk of lawsuits, because meeting medical standards is difficult in crowded hospitals with poor support systems. Many doctors, out of fear and anger, have issued threats to quit the profession or to treat only a limited number of patients each day.
But such fears are groundless. The bill follows the same principle of no-fault liability in the medical compensation fund under the universal healthcare system. In its sixth year, the fund has enabled patients to receive prompt healing measures while freeing the physicians from the threat of lawsuits. The result is better doctor-patient relations and a marked drop in the number of lawsuits.
But this fund only covers 47 million people under universal health care or the gold card system, leaving out some 18 million people in the government and social security system. The fund also offers only primary financial assistance. The medical compensation draft bill, if passed into law, will cover the country's entire populace. It will also provide additional avenues to fix long-term health damages that are not included in the gold card system.
The council also wants the bill to prohibit all medical error and malpractice lawsuits. This cannot be _ not only because it violates citizens' legal rights, but also encourages negligence when check-and-balance mechanisms are removed. Furthermore, the draft bill already contains protective measures for physicians; the patients will lose their right to immediate and long-term compensation if they want to sue their doctors. Given the painfully long and costly court procedures, and judging from the positive response from patients to the compensation fund in the gold card system, physicians should not let fear prevail over reason.
But then again, the opposition to the medical compensation legislation might well be driven by money concerns rather than fear. The bill requires hospitals to contribute 3% to 5% of their income to the fund. Hospitals will also face legal punishment if they fail to contribute their share or reveal their real income.
The council's latest move has been to set up a special medical court to handle medical error and malpractice complaints, in order to fortify physicians' sense of self-protection. It is exactly this sort of attitude that explains the urgent need for a law to protect patients from medical error and malpractice. โดย: บางกอกโพสต์ [4 มี.ค. 54 20:44> ( IP A:58.11.86.84 X: ) | โดย: เขาบอกว่าเข้าใจไม่ได้ทำไมๆๆๆๆๆ [5 มี.ค. 54 19:27] ( IP A:58.8.18.89 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 3 It is incomprehensible, therefore, why the Medical Council is fiercely opposed to this bill, resulting in an over-long delay to its deliberation in parliament. | โดย: ฟฟ [5 มี.ค. 54 19:29] ( IP A:58.8.18.89 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 4 ผมก็ไม่เข้าใจ หาคำอธิบายไม่ได้ก็เลยว่าไม่บ้าก็เมาหรือไม่ก็ปัญญาอ่อน ก็หาคำอธิบายที่ดีกว่านี้ไม่ได้ เพราะไม่รู้จะมาค้านทำไมก็เงินเขา | โดย: ไปยุ่งเขาทำไม [5 มี.ค. 54 19:30] ( IP A:58.8.18.89 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 5 1.แต่ละวันออกตรวจผู้ป่วยนอก กี่เคส 2.แต่ละเคสได้คืนจาก สปสช กี่บาท 3. 2-3%ของกี่บาทจากข้อ 1x2 รวมแล้วเป็นเท่าไหร่ วันๆหนึ่ง รพ.จะขาดรายรับที่ใช้บริหารจัดการ(เดิมก็ขาดทุนอยู่แล้ว)เป็นทั้งหมดเท่าไหร่ ไม่นับ เคสนอนนะ มีใครคำนวนให้ดูได้ไหม ขอเป็นแยก รพ.ศูนย์และ รพช อยากรู้เหมือนกัน | โดย: ต่างประเทศกองทุนมาจากไหน?? [5 มี.ค. 54 19:30] ( IP A:61.7.235.218 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 6 ไม่พอใจเงินเดือนก็ลาออกได้นะไม่ได้บังคับ มันคนละเรื่องกับที่คนไข้เขาจะจ่ายตังค์ช่วยกันเอง ไม่พอใจเงินเดือนก็ไปโวยที่ไหนก็ได้ คนไข้เขาไม่เกี่ยว ed only modestly over time. Many continue to avert their eyes. Many others pay lip service to clinical systems improvement before almost reflexively channeling the conversation onto a more comfortable path. To them, the "quality" problem is really about underpaid providers or meddling insurers or irresponsible patients. การศึกษาที่ข้าพเจ้าพบตอนนั้น (และคนอื่นก็พบด้วย) ก็ได้รับการเปิดเผยสู่สาธารณะโดยไอโอเอ็มแล้ว แต่ความเงียบภายในสังคมสาธารณสุขส่วนใหญ่เกี่ยวกับขนาดของเรื่องที่วิกฤตที่เกิดจากคุณภาพห่วยแตกได้มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยตามเวลาที่ผ่านมา หลายคนยังคงเมินไม่มอง หลายคนใช้แต่ปากพูดเกี่ยวกับการดีขึ้นของระบบทางการรักษาก่อนที่จะเลี่ยงเรื่องที่คุยโดยสัญชาติญาน(สันดาน)ไปในเรื่องอื่นที่รู้สึกอึดอัดน้อยกว่า ในสายตาของพวกเขาเหล่านั้น ปัญหาเรื่องคุณภาพ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการที่ผู้ให้บริการได้รับเงินเดือนน้อยหรือ คนที่จ่ายเงินค่ารักษาให้คนไข้ที่ไม่ได้เรื่อง(ด่า30 บาทและประกันสังคม) หรือคนไข้ที่ไม่รับผิดชอบดัวเอง https://content.healthaffairs.org/content/22/2/103.full | โดย: ลาออกเลยไม่มีใครว่า [5 มี.ค. 54 20:52] ( IP A:58.8.18.89 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 7 สวีเดน 18% เพราะต้องจ้างผู้เชี่ยวชาญ แต่ พรบ โจรไม่ต้อง เพราะโหวตเอา เอามาตั้งเงินเดือน ตั้งเบี้ยประชุมแพงๆดีกว่า ปีละ 1000 ล้าน จะใช้ยังไงหมดน้อ จ่ายให้กรรมการซักเดือนละ 3 แสนยังเหลือเลย
ได้ 2 เด้งเลย คนพิการในสังกัดก็เตรียมไว้แล้ว | โดย: เตรียมรวยๆแบบไม่ต้องทำงานเลย [5 มี.ค. 54 21:35] ( IP A:182.52.123.9 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 8 คุณก็ใส่ร้ายเขาอีก คุณรู้ได้ยังไงว่าไม่ต้อง ผู้เชี่ยวชาญที่ไหนเขาจะดูคดีให้ฟรี ยิ่งมีคนเสียหายเป็นหมื่นเป็นแสน ต้องใช้คนเท่าไหร่ สมมุติว่าเป็นแบบสวีเดน ร้องมา 100 ราย ได้แค่ 40 ราย 60 รายไม่ได้ ก็ต้องดู 100 ราย จ้างผู้เชี่ยวชาญ 100 ครั้ง ถ้าสมมุติมีเหตุไม่พึงประสงค 1.3 แสนรายจากการเข้าโรงพยาบาล 13 ล้านครั้ง ค่าตรวจเวชระเบียน หมอสูต หมอกระดูก หมอตา สมมุติว่ารายละ 1000 บาท(เท่ากับตรวจคนไข้) ก็ 130 ล้านเข้าไปแล้ว ทุกวันนี้มันใช้คณะกรรมการ จ่ายกันมั่วซั่วยังไงก็ตรวจสอบไม่ได้ไม่มีคนรับผิดชอบ คุณก็ดีแต่แก้ตัวใส่ร้ายเขา ผมว่าคุณน่าจะหัดกลับไปสำนึกนะว่าคุณยังจะนับเป็นคน เป็นหมอได้อีกหรือไม่ แต่ถ้าคุณถูก ก็คิดเสียว่าผมเลวทรามก็แล้วกัน บัวใต้น้ำ แก้ไขไม่ได้หรอก ไม่คุณก็ผม | โดย: เลวจริงๆ [5 มี.ค. 54 22:53] ( IP A:58.8.18.89 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 9 ก็นั่นมันสวีเดน จะจ้างผู้เชี่ยวชาญเท่าไหร่ผมไม่รู้รู้ ผมไม่ได้บอกว่าผู้เชี่ยวชาญไม่ต้องจ้าง แต่ที่แน่ๆ พวกคุณไม่เอาผู้เชี่ยวชาญมาพิจารณา เพราะในกรรมการคุณยังแทบไม่เอาหมอเลย ใครเขียนคำร้องจ่ายหมด หากพิจารณาไม่ทันให้จ่ายได้เลย และที่สำคัญโหวตเอา ทั้งที่กรรมการ พวกคุณก็เตรี๊ยมกันไว้แล้ว
แล้วทีนี้พวกคุณจะจ้างผู้เชี่ยวชาญมาทำไม ในเมื่อผู้เชี่ยวชาญจากแพทยสภาคุณไม่เอาแน่ๆ ผู้เชยวชาญจากราชวิทลาลัยคุณก็ด่าเค้าเช้าด่าเค้าเย็นว่าเข้าข้างหมอ | โดย: หมอ รพช ไม่มีผลประโชน์ทับซ้อน [6 มี.ค. 54 6:18] ( IP A:182.52.121.100 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 10 เขายังไม่ได้ออกระเบียบเลย เพียงแต่กรรมการชุดใหญ่มีหลายฝ่ายและมีหมอด้วย แต่เขาไม่เอาหมออย่างเดียวอย่างเก่า เพราะในอดีตพวกคุณโกงเขามาให้เขาจับได้ และเขาไม่อยากได้สภาวิชาชีพที่เข้าข้างพวกเดียวกัน เขาด่ากันในอังกฤษ ด่าแพทยสภาออกสื่อเลย พวกคุณต้องกลับไปสร้างความดีทำเรทติ้งใหม่แล้วเขาจึงจะให้เกียรติเอาคุณอีก ตอนนี้เขาขยะแขยงคุณเขาจึงไม่อยากได้ คุณต้องสำนึกด้วยว่าเพราะอะไร อย่างไรก็ตามเขามีปัญญาหาคนมาตัดสินได้ก็แล้วกัน ก็ขนาดแพทยสภาบอกไม่มีมูล เขาก็ยังเอาชนะคดีได้ในศาล พวกคุณก็ไปคิดกันเอาเองก็แล้วกัน มีคดีที่แพทยสภาบอกไม่มีมูลแล้วโดนฟ้อง 157 ก็มีมาแล้ว ไปถามแพทยสภาก็ได้ ส่วนราชวิทยาลัยก็เช่นกัน บอกไม่มีมูลศาลไม่เชื่อแพ้คดีก็มี ศาลเขาฟังเหตุผล เขาตัดสินได้ว่าเป็นยังไง ในเมืองนอกเขาก็ตัดสินแบบไม่ฟังผู้เชี่ยวชาญที่โกหกมาแล้ว ที่คุณบอกใครเขียนคำร้องจ่ายหมดก็ไม่จริงอีก พวกคุณขนาดเขาร้อง รพ เอกชน ดันไปจ่ายเขาโดยเขาไม่ได้เขียนคำร้อง อายเขาไหมเขาเอาเงินมาคืน | โดย: เป็นสวีเดนเลวน้อยกว่าไทยก็แล้วกัน [6 มี.ค. 54 12:34] ( IP A:58.11.71.89 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 11 เชียร์เจ้าของกระทู้สุดลิ่มทิ่มประตู เถียงกับพวกชอบแถไม่พูดสักคำว่าไม่อยากได้พรบ.นี้เพราะรพ.เอกชนไม่อยากจ่ายเงินสมทบ เพราะไม่ต้องการเปิดเผยรายได้ที่แท้จริงมีหลายแห่งทำบัญชีหลบภาษี | โดย: บอกตรง ๆ สิ [7 มี.ค. 54 9:55] ( IP A:58.9.38.37 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 12 บอกตรงๆ. หมอ. รพ รัฐ ไม่รับjob เอกชน | โดย: on mobile [7 มี.ค. 54 10:54] ( IP A:111.84.139.123 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 13 โอย งบเดิม 4-5 หมื่นล้านก็ไม่เคยพอแล้ว นี่ต้องมากันไป 3% ไปจ่ายให้พวกคุณอีก เอาไปรักษาคนตามเจตนารมย์ของกฎหมายดีกว่านะ
แล้วก็ผมพอเข้าใจแล้วหละ ถ้าพรบ.ผ่าน เครือข่ายคงได้เป็นกรรมการกันตรึม คราวนี้พอมีเคสมายื่นขอรับเงิน จะให้ใครตรวจเวชระเบียนดีหละ แพทยสภาก็มองหน้าไม่ติด ด่าเค้าทุกวัน ราชวิทยาลัยแพทย์เฉพาะทางต่างๆก็ไม่เชื่อถือ
ส้มคงมาหล่นใส่หมอแถวๆนี้แหละ เคสละพัน วันละ 10-20 เคส เดือนละเท่าไหร่ ปีละเท่าไหร่
สู้ สู้เท่านั้น สู้แล้วรวย | โดย: Gazza [7 มี.ค. 54 12:58] ( IP A:115.87.216.12 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 14 หมอ รพ รัฐ 100% ไม่รับจ๊อบนอก ไม่รับเอกชน น้อมรับการตรวจภาษี | โดย: แล้วภาษีท่านล่ะ [9 มี.ค. 54 9:03] ( IP A:182.52.120.120 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 15 Gazza คุณนี่มองโลกแง่ร้ายอย่างที่สุด พวกคุณมันทำมาหากินไม่ซื่อสัตย์สุจริตจึงคิดว่าคนอื่นจะชั่วร้ายเหมือนตัวเองที่หัวคิดแต่เอาเปรียบคิดแต่เรื่องทำมาหากิน ในกลุ่มคุณอยู่รพ.รัฐบางคนบ่ายโมงก็ไปอยู่รพ.เอกชนทีอย่างนี้ไม่บ่นว่าเหนื่อย รับผลประโยชน์บริษัทยา รับซองจากคนไข้ บางคนผัวติดการพนันมารับจ้างล้มพรบ.สมัยอยู่รพ.เล็ก ๆ ก็โกงยาโกงสารพัด ปูมหลังแต่ละคนคิดว่าคนอื่นเขาไม่รู้เพียงแต่เขาไม่อยากเอามาแฉว่าใครเป็นอย่างไร ไม่เหมือนพวกคุณชอบให้ร้ายป้ายสีทั้งที่คนอื่นไม่ได้ชัวเหมือนพวกคุณ | โดย: ไปไกล ๆ เลยไปไอ้ Gazza [9 มี.ค. 54 22:29] ( IP A:58.9.38.37 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 16 ความคิดเห็นที่ 14
สมองหมา ปัญญาความเท่านั้นที่คิดแบบนี้ได้
นรกสั่งมาเกิด | โดย: อายแทนว่ะ [13 มี.ค. 54 9:53] ( IP A:223.207.60.113 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 17 ถ้าอยู่ใกล้ตริน จะบอกว่าไปไกลๆตรินกรูเลย
เดี๋ยวตรินกรูจะได้ทำงาน คิดไ้ด้นะ สังคมไทยมีเยอะด้วยซิพวกห่าเนี่ย | โดย: คิดได้ไง [13 มี.ค. 54 9:56] ( IP A:223.207.60.113 X: ) |  |
|