แพทย์ผิวหนังชื่อดัง รับจ๊อบหลายอย่าง จนลืมไปว่า เคยทำอะไรที่สำคัญสุดๆบ้าง
   พยานปากเอกคดีดอกรัก ไม่ได้อาจารย์ช่วย ก็ไปไม่รอดหรอกคดีนี้
วันจันทร์ที่ 28 มีนาคม 2554
คนอ่าน 66 คน ส่งต่อ พิมพ์ ขนาดตัวอักษร Reset
คมชัดลึก > การศึกษา > ข่าวทั่วไป
พญ.ปรียา กุลละวณิชย์กับเหรียญทอง Maria Duran Gold Medal
Share Share ภาพประกอบข่าว คมชัดลึก : "ดีใจมากที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง Maria Duran Gold Medal จาก International Dermatological Society สหรัฐอเมริกา เพราะเป็นรางวัลเฉพาะเเพทย์สตรีผู้มีผลงานวิชาการดีเด่นระดับนานาชาติ ถือเป็นคนแรกของเซาท์อีสต์เอเชีย

โฆษณาโดย Google
ทำประกันทั้งทีต้องให้คุ้ม
ซื้อ 1 แถม 1 เริ่มเพียงวันละ 7 บาท คุ้มครองอุบัติเหตุและโรคร้าย คุ้ม..
https://www.cigna.co.th/1care2
คอนโดเดอะนิช กิจกรรมดีๆ
ร่วมลุ้น Ipad 3G wifi 32 GB ได้ที่ facebook.com/thenichecondo.sena
https://www.TheNicheCondo.com/T.1775
โรงเรียนนานาชาติ Berkeley
หลักสูตรอเมริกา เตรียมอนุบาล - ม. 6 เรียน เล่น กีฬา พัฒนาทักษะลูกน้อย
https://www.BerkeleyBangkok.com
ก็ว่าได้ ซึ่งการให้รางวัลนี้จะพิจารณาจากผลงานเป็นหลัก ภาคภูมิใจที่มีคนเห็นความสำคัญของงานที่เราทำ ดีใจที่รางวัลที่ได้รับมีส่วนช่วยในการสร้างชื่อเสียงแก่สถาบันโรคผิวหนังและวงการแพทย์ผิวหนังแห่งประเทศไทย" พญ.ปรียา กุลละวณิชย์ กล่าว

พญ.ปรียา ผู้ทรงคุณวุฒิระดับ 11 ที่ปรึกษากรมการแพทย์และสถาบันโรคผิวหนัง อดีตผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง 15 ปี ก่อนหน้านี้ได้รับรางวัลแพทย์ดีเด่น ILDS Awards-Certificate 2009 จากสหพันธ์สมาคมแพทย์ผิวหนังนานาชาติ (International League of Dermatological Societies : ILDS) ซึ่งคัดเลือกจากผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากสมาคมผิวหนังประเทศต่างๆ ทั่วโลก หลักการคือ เป็นผู้มีผลงานวิจัยและส่งเสริมการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมในระดับประเทศและนานาชาติ โดยไม่มีผลประโยชน์ส่วนตัว

ก่อนหน้านี้เคยเป็นนายกสมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งเอเชียหญิงเป็นคนแรก โดยเป็นนายกคนที่ 6 ของสมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งเอเชีย ต่อจากศาสตราจารย์ทาเกชิ นิกาวา ชาวอาทิตย์อุทัยอีกด้วย พญ.ปรียา เล่าว่าสาเหตุที่ได้รับการยอมรับในเวทีนานาชาติ เป็นเพราะทำงานระดับนานาชาติมามาก ติดต่อประสานงานกับต่างประเทศ ต้องไปร่วมประชุมวิชาการนานาชาติบ่อยๆ ตั้งแต่ครั้งที่เป็นผู้อำนวยการ ซึ่งต้องทำงานถึง 7 อย่าง คือ งานบริหารสถาบัน เป็นประธานฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรแพทย์ผิวหนังนานาชาติ ฝึกอบรมระยะสั้น/ระยะยาวของสถาบัน นอกจากนี้ยังทำงานวิจัย งานสอน งานสุขศึกษา เขียนบทความสำหรับประชาชน งานตรวจรักษาผู้ป่วย

โดยเฉพาะเมื่อครั้งที่เป็นนายกสมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งเอเชียหญิงเป็นคนแรก ต้องจัดประชุมวิชาการทุกๆ 3 ปี หมุนเวียนกับประเทศสมาชิก 15 ประเทศ อาทิ จีน ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น เกาหลี อินโดนีเซีย ไทย อินเดีย ไต้หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์ ซาอุดีอาระเบีย ทำให้มีโอกาสได้พูดคุยเกี่ยวกับวิวัฒนาการใหม่ในการดูแลผิวพรรณ การดูแลรักษาสุขภาพผิวด้วยเทคโนโลยีเลเซอร์ ตัวยาใหม่ที่ใช้สำหรับรักษาโรคสะเก็ดเงิน โรคติดเชื้อต่างๆ เช่นเชื้อรา รวมทั้งปรึกษาเรื่องความก้าวหน้าด้านวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรม ไม่ว่าจะเป็นโรคดักแด้ โรคเกล็ดงู โรคผมร่วง ซึ่งได้นำองค์ความรู้เหล่านี้มาใช้ในประเทศไทยได้อีกต่างหาก

พญ.ปรียา ยึดหลักในการทำงานว่า ปัญหาทุกอย่างสามารถแก้ได้ ขอให้ลงมือทำ อย่างน้อยก็สามารถทำผ่อนหนักให้เป็นเบา และที่สำคัญคนเราสามารถทำงานทุกอย่างได้เช่นเดียวกันคนอื่นๆ ขอให้ลงมือทำเสียก่อน อย่างน้อยหากไม่สามารถทำได้มาก ก็ต้องทำได้น้อย เพราะหากคนอื่นทำได้ เราต้องทำได้เช่นกัน บางครั้งก็เคยมีความกังวลได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรไปบรรยายต่างประเทศว่าจะทำได้หรือไม่ แต่เมื่อคิดว่าคนอื่นทำได้ เราก็ต้องทำได้เช่นกัน ก็คลายความกังวลลง เมื่อลงทำได้ครั้งแรก ครั้งต่อๆ ไปก็จะมีความมั่นใจเพิ่มขึ้นเอง

พญ.ปรียา จบการศึกษาจาก ร.ร.ราชินีบน จากนั้นไปต่อ ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา และเรียนต่อแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2509 หลังจากจบการเป็นแพทย์ฝึกหัดหรือแพทย์ Intern ที่ศิริราช 1 ปี ได้สมรสกับ นพ.พินิจ กุลละวณิชย์ และไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษด้วยกัน โดยเลือกเรียนทางด้านผิวหนังที่ Institute of Dermatology St. John’s Hospital for Diseases of the Skin, London University ปี 2513 และได้งานเป็นแพทย์ประจำบ้านอาวุโสและแพทย์ปฏิบัติงานวิจัยจากที่เดียวกันในเวลาต่อมา

หลังจบการศึกษาจากประเทศอังกฤษปี 2515 ก็กลับมาทำงานที่เมืองไทยพร้อมกับลูกทั้ง 2 คน (นายพลสันต์ กุลละวณิชย์ และ พญ.ปริศนา สุขีพจน์) และได้สมัครงานที่ สถาบันโรคผิวหนัง ปี 2515 จนกระทั่งเกษียณอายุราชการ เป็นผู้อำนวยการอยู่ 15 ปี ปริญญาต่อมาคือแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยมหิดล Ph.D. จาก Juntendo University ประเทศญี่ปุ่น และ FRCP (Fellow of the Royal College of Physician, London, UK) เป็นแบบกิตติมศักดิ์ โดยพิจารณาประวัติการทำงาน

แม้ปัจจุบันจะเกษียณแล้วก็ตาม แต่ พญ.ปรียา ยังทำงานอยู่ที่สถาบันโรคผิวหนัง ตรวจคนไข้ ทำงานวิจัย และเขียนบทความต่างๆ อยู่เสมอ ส่วนสามีเป็นอาจารย์อยู่ที่ภาควิชาอายุรศาสตร์ รพ.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และลูกทั้ง 2 ใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศทั้งคู่ พญ.ปรียา บอกว่า ชีวิตทุกวันนี้ลงตัวดี มีความสุขการทำงานทุกวัน ขณะนี้อยู่ระหว่างการทำงานวิจัยเรื่องการย้อมผม อีกไม่นานคงจะเผยแพร่ได้

"เมื่อก่อนหมอผิวหนังไม่ได้เป็นที่รู้จักเหมือนปัจจุบัน เป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด ทำให้คนไข้ไม่ค่อยอยากรักษากับแพทย์แผนปัจจุบัน อาจารย์แพทย์ทางด้านโรคผิวหนังสมัยก่อนจึงมีน้อย ปัจจุบันประชาชนเข้าถึงความรู้ทางด้านวิชาการได้อย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยโรคผิวหนังมาพบแพทย์มากขึ้น ทำให้มีแพทย์สนใจเลือกเรียนสาขาผิวหนังมากขึ้น เกิดวิชาการก้าวหน้าทั้งด้านการวินิจฉัยและการรักษาไม่น้อยหน้าระบบอื่นๆ ในวงการแพทย์ ทั้งนี้ เป็นผลดีต่อผู้ป่วยโดยตรง โรคผิวหนังหลายชนิดที่เคยสิ้นหวังคิดว่ารักษาไม่หายก็หายได้" พญ.ปรียา กล่าวทิ้งท้าย
โดย: อาจารย์ลืมไปอย่างหนึ่ง [28 มี.ค. 54 8:50] ( IP A:58.11.71.72 X: )
Add to Facebook  Add to Twitter  Add to Multiply  Add to Google  Add to Blogger  Add to Live
ความคิดเห็นที่ 1
   วันจันทร์ที่ 28 มีนาคม 2554
พญ.ปรียา กุลละวณิชย์กับเหรียญทอง Maria Duran Gold Medal
"ดีใจมากที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง Maria Duran Gold Medal จาก International Dermatological Society สหรัฐอเมริกา เพราะเป็นรางวัลเฉพาะเเพทย์สตรีผู้มีผลงานวิชาการดีเด่นระดับนานาชาติ ถือเป็นคนแรกของเซาท์อีสต์เอเชีย ก็ว่าได้ ซึ่งการให้รางวัลนี้จะพิจารณาจากผลงานเป็นหลัก ภาคภูมิใจที่มีคนเห็นความสำคัญของงานที่เราทำ ดีใจที่รางวัลที่ได้รับมีส่วนช่วยในการสร้างชื่อเสียงแก่สถาบันโรคผิวหนังและวงการแพทย์ผิวหนังแห่งประเทศไทย" พญ.ปรียา กุลละวณิชย์ กล่าว

พญ.ปรียา ผู้ทรงคุณวุฒิระดับ 11 ที่ปรึกษากรมการแพทย์และสถาบันโรคผิวหนัง อดีตผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง 15 ปี ก่อนหน้านี้ได้รับรางวัลแพทย์ดีเด่น ILDS Awards-Certificate 2009 จากสหพันธ์สมาคมแพทย์ผิวหนังนานาชาติ (International League of Dermatological Societies : ILDS) ซึ่งคัดเลือกจากผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากสมาคมผิวหนังประเทศต่างๆ ทั่วโลก หลักการคือ เป็นผู้มีผลงานวิจัยและส่งเสริมการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมในระดับประเทศและนานาชาติ โดยไม่มีผลประโยชน์ส่วนตัว

ก่อนหน้านี้เคยเป็นนายกสมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งเอเชียหญิงเป็นคนแรก โดยเป็นนายกคนที่ 6 ของสมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งเอเชีย ต่อจากศาสตราจารย์ทาเกชิ นิกาวา ชาวอาทิตย์อุทัยอีกด้วย พญ.ปรียา เล่าว่าสาเหตุที่ได้รับการยอมรับในเวทีนานาชาติ เป็นเพราะทำงานระดับนานาชาติมามาก ติดต่อประสานงานกับต่างประเทศ ต้องไปร่วมประชุมวิชาการนานาชาติบ่อยๆ ตั้งแต่ครั้งที่เป็นผู้อำนวยการ ซึ่งต้องทำงานถึง 7 อย่าง คือ งานบริหารสถาบัน เป็นประธานฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรแพทย์ผิวหนังนานาชาติ ฝึกอบรมระยะสั้น/ระยะยาวของสถาบัน นอกจากนี้ยังทำงานวิจัย งานสอน งานสุขศึกษา เขียนบทความสำหรับประชาชน งานตรวจรักษาผู้ป่วย

โดยเฉพาะเมื่อครั้งที่เป็นนายกสมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งเอเชียหญิงเป็นคนแรก ต้องจัดประชุมวิชาการทุกๆ 3 ปี หมุนเวียนกับประเทศสมาชิก 15 ประเทศ อาทิ จีน ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น เกาหลี อินโดนีเซีย ไทย อินเดีย ไต้หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์ ซาอุดีอาระเบีย ทำให้มีโอกาสได้พูดคุยเกี่ยวกับวิวัฒนาการใหม่ในการดูแลผิวพรรณ การดูแลรักษาสุขภาพผิวด้วยเทคโนโลยีเลเซอร์ ตัวยาใหม่ที่ใช้สำหรับรักษาโรคสะเก็ดเงิน โรคติดเชื้อต่างๆ เช่นเชื้อรา รวมทั้งปรึกษาเรื่องความก้าวหน้าด้านวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรม ไม่ว่าจะเป็นโรคดักแด้ โรคเกล็ดงู โรคผมร่วง ซึ่งได้นำองค์ความรู้เหล่านี้มาใช้ในประเทศไทยได้อีกต่างหาก

พญ.ปรียา ยึดหลักในการทำงานว่า ปัญหาทุกอย่างสามารถแก้ได้ ขอให้ลงมือทำ อย่างน้อยก็สามารถทำผ่อนหนักให้เป็นเบา และที่สำคัญคนเราสามารถทำงานทุกอย่างได้เช่นเดียวกันคนอื่นๆ ขอให้ลงมือทำเสียก่อน อย่างน้อยหากไม่สามารถทำได้มาก ก็ต้องทำได้น้อย เพราะหากคนอื่นทำได้ เราต้องทำได้เช่นกัน บางครั้งก็เคยมีความกังวลได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรไปบรรยายต่างประเทศว่าจะทำได้หรือไม่ แต่เมื่อคิดว่าคนอื่นทำได้ เราก็ต้องทำได้เช่นกัน ก็คลายความกังวลลง เมื่อลงทำได้ครั้งแรก ครั้งต่อๆ ไปก็จะมีความมั่นใจเพิ่มขึ้นเอง

พญ.ปรียา จบการศึกษาจาก ร.ร.ราชินีบน จากนั้นไปต่อ ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา และเรียนต่อแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2509 หลังจากจบการเป็นแพทย์ฝึกหัดหรือแพทย์ Intern ที่ศิริราช 1 ปี ได้สมรสกับ นพ.พินิจ กุลละวณิชย์ และไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษด้วยกัน โดยเลือกเรียนทางด้านผิวหนังที่ Institute of Dermatology St. John’s Hospital for Diseases of the Skin, London University ปี 2513 และได้งานเป็นแพทย์ประจำบ้านอาวุโสและแพทย์ปฏิบัติงานวิจัยจากที่เดียวกันในเวลาต่อมา

หลังจบการศึกษาจากประเทศอังกฤษปี 2515 ก็กลับมาทำงานที่เมืองไทยพร้อมกับลูกทั้ง 2 คน (นายพลสันต์ กุลละวณิชย์ และ พญ.ปริศนา สุขีพจน์) และได้สมัครงานที่ สถาบันโรคผิวหนัง ปี 2515 จนกระทั่งเกษียณอายุราชการ เป็นผู้อำนวยการอยู่ 15 ปี ปริญญาต่อมาคือแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยมหิดล Ph.D. จาก Juntendo University ประเทศญี่ปุ่น และ FRCP (Fellow of the Royal College of Physician, London, UK) เป็นแบบกิตติมศักดิ์ โดยพิจารณาประวัติการทำงาน

แม้ปัจจุบันจะเกษียณแล้วก็ตาม แต่ พญ.ปรียา ยังทำงานอยู่ที่สถาบันโรคผิวหนัง ตรวจคนไข้ ทำงานวิจัย และเขียนบทความต่างๆ อยู่เสมอ ส่วนสามีเป็นอาจารย์อยู่ที่ภาควิชาอายุรศาสตร์ รพ.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และลูกทั้ง 2 ใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศทั้งคู่ พญ.ปรียา บอกว่า ชีวิตทุกวันนี้ลงตัวดี มีความสุขการทำงานทุกวัน ขณะนี้อยู่ระหว่างการทำงานวิจัยเรื่องการย้อมผม อีกไม่นานคงจะเผยแพร่ได้

"เมื่อก่อนหมอผิวหนังไม่ได้เป็นที่รู้จักเหมือนปัจจุบัน เป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด ทำให้คนไข้ไม่ค่อยอยากรักษากับแพทย์แผนปัจจุบัน อาจารย์แพทย์ทางด้านโรคผิวหนังสมัยก่อนจึงมีน้อย ปัจจุบันประชาชนเข้าถึงความรู้ทางด้านวิชาการได้อย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยโรคผิวหนังมาพบแพทย์มากขึ้น ทำให้มีแพทย์สนใจเลือกเรียนสาขาผิวหนังมากขึ้น เกิดวิชาการก้าวหน้าทั้งด้านการวินิจฉัยและการรักษาไม่น้อยหน้าระบบอื่นๆ ในวงการแพทย์ ทั้งนี้ เป็นผลดีต่อผู้ป่วยโดยตรง โรคผิวหนังหลายชนิดที่เคยสิ้นหวังคิดว่ารักษาไม่หายก็หายได้" พญ.ปรียา กล่าวทิ้งท้าย
โดย: aa [28 มี.ค. 54 8:52] ( IP A:58.11.71.72 X: )
ความคิดเห็นที่ 2
   

This is a wonderful article, Given so much info in it, These type of articles keeps the users interest in the website, and keep on sharing more ... good luck เกมส์ คาสิโนออนไลน์

โดย: techmartin128@gmail.com [5 มิ.ย. 65 3:42] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 3
   

I really appreciate this wonderful post that you have provided for us. I assure this would be beneficial for most of the people. Zonnepanelen

โดย: zxbbroefxrwv@maxresistance.com [8 มี.ค. 66 15:57] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 4
   

I have read your excellent post. This is a great job. I have enjoyed reading your post first time. I want to say thanks for this post. Thank you... Zonnepanelen

โดย: kyizsokerijpkn@maxresistance.com [8 มี.ค. 66 15:59] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 5
   

I like viewing web sites which comprehend the price of delivering the excellent useful resource free of charge. I truly adored reading your posting. Thank you! Zonnepanelen

โดย: zxbbroefxrwv@maxresistance.com [8 มี.ค. 66 16:09] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 6
   

Thumbs up guys your doing a really good job. Zonnepanelen kopen

โดย: zxbbroefxrwv@maxresistance.com [8 มี.ค. 66 16:10] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 7
   

Great tips and very easy to understand. This will definitely be very useful for me when I get a chance to start my blog. Zonnepanelen kopen

โดย: wogowa5407@tan9595.com [8 มี.ค. 66 16:13] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 8
   

Thanks for your post. I’ve been thinking about writing a very comparable post over the last couple of weeks, I’ll probably keep it short and sweet and link to this instead if thats cool. Thanks. Thuisbatterij kopen

โดย: muhammadsheeraz455@gmail.com [8 มี.ค. 66 16:14] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 9
   

so happy to find good place to many here in the post, the writing is just great, thanks for the post. Zonnepanelen 2023

โดย: zxbbroefxrwv@maxresistance.com [8 มี.ค. 66 16:16] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 10
   

Thumbs up guys your doing a really good job. Zonnepanelen Limburg

โดย: zxbbroefxrwv@maxresistance.com [8 มี.ค. 66 16:18] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 11
   

This is a great article thanks for sharing this informative information. I will visit your blog regularly for some latest post. I will visit your blog regularly for Some latest post. Zonnepanelen installateur

โดย: muhammadsheeraz455@gmail.com [8 มี.ค. 66 16:20] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 12
   

Thanks for your post. I’ve been thinking about writing a very comparable post over the last couple of weeks, I’ll probably keep it short and sweet and link to this instead if thats cool. Thanks. Thuisbatterij zonnepanelen

โดย: wogowa5407@tan9595.com [8 มี.ค. 66 16:22] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 13
   

wow, great, I was wondering how to cure acne naturally. and found your site by google, learned a lot, now i’m a bit clear. I’ve bookmark your site and also add rss. keep us updated. Zonnepanelen installateur Limburg

โดย: wogowa5407@tan9595.com [8 มี.ค. 66 16:24] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 14
   

I have read your article, it is very informative and helpful for me.I admire the valuable information you offer in your articles. Thanks for posting it.. Zonnepanelen Limburg

โดย: muhammadsheeraz455@gmail.com [8 มี.ค. 66 16:27] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 15
   

I really enjoy simply reading all of your weblogs. Simply wanted to inform you that you have people like me who appreciate your work. Definitely a great post. Hats off to you! The information that you have provided is very helpful. TIER-1 Zonnepanelen

โดย: zxbbroefxrwv@maxresistance.com [8 มี.ค. 66 16:29] ( IP A:172.17.0.1 X: )
ความคิดเห็นที่ 16
   

Thank you so much for ding the impressive job here, everyone will surely like your post. Zonnepanelen installateurs Limburg

โดย: wogowa5407@tan9595.com [8 มี.ค. 66 16:31] ( IP A:172.17.0.1 X: )
รายละเอียด :
ชื่อ / e-mail :    แทรกไอคอนน่ารักๆในข้อความ
e-mail :
ส่งอีเมลทุกครั้งที่มีการตอบกระทู้       (ใส่ Email เมื่อต้องการให้ส่ง Email เมื่อมีคนมาโพสในกระทู้)
รูปประกอบ :
.jpg .bmp .gif < 100K
จัดตำแหน่งรูป :
ชิดซ้าย
กึ่งกลาง
ชิดขวา
เสียงประกอบ : .wav .mp3 .wma .ogg < 300K
คลิปวีดีโอ (Youtube) :
ตัวอย่าง : http://www.youtube.com/watch?v=k_ufqno7NaE


CAPTCHA code



คลิกที่นี่เพื่อกลับหน้าบ้าน