มาตรฐาน AHR ตรวจพบความผิดพลาดของหมอน้อยเกินจริง 10 เท่า นักวิจัยอเมริกันสรุป
   ***********************
ชิคาโก/สำนักข่าว AP รายงานเมื่อ 7 เม.ย. 2554 โดย Julie Steenhuysen
รายงานข่าวอ้างผลการศึกษาของนักวิจัยอเมริกันซึ่งพบวา ราวๆทุก 1 ใน 3 คนของชาวอเมริกันเคยพบกับความผิดพลาดทางการแพทย์ระหว่างที่พักรักษาตัวในโรงพยาบาลมาแล้ว ซึ่งเป็นข้อมูลที่เปิดเผยเมื่อวานนี้ (6 เม.ย.) ผลการศึกษาชิ้นนี้อ้างอิงจากการวิจัยโดยอาศัยเครื่องมือใหม่เพื่อสอบหาความผิดพลาดทางการแพทย์ ซึ่งพบว่ามีปริมาณของกรณีผิดพลาดสูงถึง 10 เท่าของที่เคยพบเมื่อทำการศึกษาโดยใช้เครื่องมือเก่าที่เคยทำมา เป็นเครื่องชี้ว่ายังต้องทำงานกันอีกมาทีเดียวเพื่อปรับปรุงคุณภาพของบริการทางการแพทย์
“คงไม่ต้องสงสัยเลยว่าในรอบทศวรรษที่ผ่านมาเราได้เห็นการปรับปรุงคุณภาพของบริการทางสุขภาพที่ดีขึ้น แม้กระทั่งรับรู้ถึงความเป็นเลิศในหลายๆด้าน แต่โดยรวมแล้วความคืบหน้าก็ยังเดินไปอย่างเชื่องช้าจนน่าเป็นห่วง” เป็นคำให้สัมภาษณ์ของ Susan Dentzer บรรณาธิการบริหารของวารสาร Health Affair ซึ่งได้ทำการตีพิมพ์ผลการศึกษาวิจัยเฉพาะทางหลายเรื่องรวบรวมไว้ในวารสารฉบับพิเศษ สำหรับความปลอดภัยของคนไข้ภายใต้บริการทางสุขภาพ เธอกล่าวต่อไปว่า “เป็นที่แน่ชัดว่าเรายังต้องทำงานอีกมากทีเดียวเพื่อที่จะให้ได้ระบบการดูแลสุขภาพของคนอเมริกันที่มีคุณภาพสูงอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งก็คือ มีทั้งความปลอดภัย มีประสิทธิผล ให้คนไข้เป็นศูนย์กลาง อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามจังหวะเวลาอย่างเหมาะสม และหลีกเลี่ยงการเลือกปฏิบัติเนื่องจากสีผิวและชาติพันธุ์” เธอสรุป
ความผิดพลาดทางการแพทย์มีได้ตั้งแต่ การเกิดแผลกดทับไปจนถึงการลืมสิ่งของแปลกปลอมไว้ในตัวคนไข้จากการทำผ่าตัด หรือมากจนถึงเสี่ยงชีวิตจากกรณีการติดเชื้อแบคทีเรีย Staph
จากรายงานการศึกษาของ David Classen และคณะที่ University of Utah ซึ่งศึกษาเปรียบเทียบระหว่างวิธีสอบวัดแบบใหม่ซึ่งเปรียบเสมือนไม้หยั่งสอบคุณภาพของการให้บริการทางการแพทย์ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นโดย Institute for Healthcare Improvement ที่เมือง Massachusetts เทียบกับสองวิธีแบบเก่าที่มักใช้กันอยู่เพื่อสอบหาความผิดพลาด หนึ่งก็คือ วิธีรายงานความผิดพลาดอย่างสมัครใจซึ่งจะรวมไว้ด้วยกันในเวชระเบียนของคนไข้ และอีกหนึ่งคือ วิธีประเมินความผิดพลาดซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นโดย U.S. Agency for Healthcare Research and Quality หรือที่เรารู้จักกันในชื่อย่อว่า AHR
“ประเด็นท้าทายที่สำคัญได้ถูกกำหนดขึ้นร่วมกันในระหว่างคณะทำงานเพื่อวางวิธีการที่จะเปรียบเสมือนเป็นไม้หยั่งหาความปลอดภัยของบริการภายในโรงพยาบาล” เป็นประโยคซึ่งคณะผู้ดำเนินการวิจัยได้เขียนไว้ในรายงาน
และเพื่อค้นหาไม้หยั่งที่ดีที่สุด ทีมงานได้ทำการทดสอบกับ 3 วิธีการด้วยกันเพื่อติดตามร่องรอยของความผิดพลาดบนชุดของเวชระเบียนจำนวนหนึ่งจาก 3 โรงพยาบาลด้วยกัน และพบว่าจาก เวชระเบียนของคนไข้จำนวน 795 รายที่ได้รับการตรวจสอบทบทวน การรายงานความผิดพลาดโดยสมัครใจแสดงการผิดพลาดเพียง 4 ราย ส่วนของ the Agency for Healthcare Research’s quality indicator พบเพียง 35 ราย และของ Institute for Healthcare Improvement’s tool ตรวจพบ 354 ราย ! นี่เท่ากับ 10 เท่าของที่วิธีของ AHR ตรวจพบ
จากการศึกษาของเราชี้ว่า สองวิธีซึ่งใช้กันทั่วๆไปโดยหน่วยให้บริการทางสุขภาพส่วนใหญ่และได้รับการสนับสนุนโดยผู้กำกับนโยบายเพื่อสอบวัดความปลอดภัยของการบริการ เป็นสองวิธีซึ่งล้มเหลวที่จะตรวจพบ 90% ของเหตุเลวร้ายที่เกิดขึ้นกับบรรดาคนไข้ที่เข้ารับการรักษาตัวภายในโรงพยาบาล และนี่คือที่ทีมงานระบุไว้ในรายงาน
การค้นพบนี้ยังชี้ว่า อาจมีความผิดพลาดอีกจำนวนมากที่ยังไม่ถูกตรวจพบ!!!
และในผลการศึกษาอีกชิ้นหนึ่งที่ตีพิมพ์ในวารสารฉบับเดียวกัน ทีมงานซึ่งนำโดย Jill Van Den Bos ที่ Denver Health Practice of the Milliman Inc. บริษัทที่ปรึกษาด้านการดูแลสุขภาพได้ทำการศึกษาจากข้อมูลการเรียกสินไหมชดเชยการประกันสุขภาพเพื่อประเมินมูลค่าความเสียหายประจำปีจากความผิดพลาดทางการแพทย์ที่ก่ออันตรายต่อคนไข้อยู่ที่ 17.1 พันล้านเหรียญในปีค.ศ. 2008
***********************

link ข่าวต้นฉบับด้านล่างนี้ครับ

https://www.msnbc.msn.com/id/42466664/ns/business
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง(เรื่องหมอ) [10 พ.ค. 54 13:09] ( IP A:58.8.131.250 X: )
Add to Facebook  Add to Twitter  Add to Multiply  Add to Google  Add to Blogger  Add to Live
ความคิดเห็นที่ 1
   โปรดสังเกตว่า

มาตรฐานการตรวจสอบคุณภาพของอเมริกันนั้น

ไม่มีตรงไหนที่ระบุยอมให้มีการรวบเอารายงานของหมอและรายงานพยาบาล นำมาเขียนใหม่ โดยเฉพาะ มาตรฐาน AHR ที่วงการแพทย์พานิชย์รณรงค์โฆษณามาแรมปี

แต่แพทยสภา (ซ่องโจร) หมอของเราเปิดอบรมและส่งเสริมให้บรรดาหมอทั้งภาครัฐ และโดยเฉพาะภาคเอกชนเขียนเวชระเบียนในลักษณะป้องกันการฟ้องร้อง (ซึ่งก็คือปกปิดความผิดพลาด)

ฉะนั้น มาตรฐาน AHR ฉบับที่ใช้กันในเมืองไทย นี่ ก็ถูกแก้ไข บิดเบือนใช้กันแบบโจรๆ ด้วยประการะ ฉะนี้แล ซ.ต.พ.
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง(เรื่องหมอ) [10 พ.ค. 54 13:20] ( IP A:58.8.131.250 X: )
ความคิดเห็นที่ 2
   อ๊ะแฮ่ม !!!!

ผมพบรายงานโดยละเอียดซึ่งเป็นต้นทางของรายงานข่าวของหัวกระทู้นี้แล้วครับ ต้นฉบับเป็นภาษาอังกฤษ ตาม link ด้านล่างนี้เลย

https://www.safetyleaders.org/pdf/ClassenFF_HealthAffairs.pdf

ซึ่งคนธรรมดาทั่วไปที่ไม่ใช่หมอก็อ่านรู้เรื่องและตีความ+ทำความเข้าใจได้เองอยู่แล้วครับ

ส่วนท่านที่ภาษาอังกฤษไม่ค่อยคล่อง ผมขออภินันทนาการ "แปล" ส่วนที่เป็น Abstract หรือที่เรียกว่า ใจความสรุปของรายงาน มาให้อ่านกันครับ ตามนี้เลย

******************

ABSTRACT Identification and measurement of adverse medical events is
central to patient safety, forming a foundation for accountability,
prioritizing problems to work on, generating ideas for safer care, and
testing which interventions work. We compared three methods to detect
adverse events in hospitalized patients, using the same patient sample set
from three leading hospitals. We found that the adverse event detection
methods commonly used to track patient safety in the United States
today—voluntary reporting and the Agency for Healthcare Research and
Quality’s Patient Safety Indicators—fared very poorly compared to other
methods and missed 90 percent of the adverse events. The Institute for
Healthcare Improvement’s Global Trigger Tool found at least ten times
more confirmed, serious events than these other methods. Overall,
adverse events occurred in one-third of hospital admissions. Reliance on
voluntary reporting and the Patient Safety Indicators could produce
misleading conclusions about the current safety of care in the US health
care system and misdirect efforts to improve patient safety

สรุปใจความ การบ่งชี้และการสอบหาเหตุการณ์เลวร้ายทางการแพทย์จะเป็นใจกลางของความปลอดภัยของคนไข้ในบริการทางสุขภาพ ทั้งเป็นตัวก่อพื้นฐานของความน่าเชื่อถือ, เป็นการวางความสำคัญของปัญหาไว้ในลำดับต้นของการทำงาน และเป็นการเพาะบ่มแนวคิดเพื่อให้ได้บริการและการทดสอบทางการแพทย์ที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น ซึ่งจะคั่นกลางเข้ามาในระบบบริการ เราได้เปรียบเทียบวิธีการ 3 วิธีด้วยกันเพื่อตรวจหาเหตุเลวร้ายที่เกิดขึ้นกับคนไข้ซึ่งถูกรับเข้ารักษาตัวภายในโรงพยาบาล ทั้งนี้ โดยใช้ตัวอย่างกลุ่มคนไข้กลุ่มเดียวกันจากสามโรงพยาบาลชั้นนำ เราได้พบว่า ในบรรดาวิธีการตรวจหาเหตุเลวร้ายทางการแพทย์ที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อติดตามสภาพความปลอดภัยของคนไข้ในสหรัฐอเมริกาเรา ณ วันนี้ วิธีการรายงานเหตุโดยสมัครใจและวิธีการของ The Agency for Healthcare Research (AHR) รวมทั้งวิธีการ Quality’s Patient Safety Indicators ล้วนให้ผลต่ำมากๆเมื่อเทียบกับวิธีการอื่น และยัง พลาดที่จะตรวจพบเหตุเลวร้ายอื่นๆอีกมากถึง 90% ของเรื่องทั้งหมด สำหรับวิธีการของ The Institute of Healthcare Improvement’s Global Trigger Tool กลับตรวจพบมากกว่าถึง 10 เท่าของเหตุเลวร้ายขั้นวิกฤตเมื่อเทียบกับวิธีที่ได้กล่าวถึงก่อนนั้น โดยรวมแล้ว เหตุการณ์เลวร้ายจะเกิดขึ้นกับ 1 ใน 3 ของคนไข้ที่พักรักษาตัวในโรงพยาบาล การวางใจเชื่อวิธีการรายงานเหตุโดยสมัครใจและวิธีของ Patient Safety Indicators อาจทำให้เราได้ข้อสรุปที่ผิดเกี่ยวกับสภาพความปลอดภัยของบริการทางสุขภาพภายในระบบดูแลสุขภาพของสหรัฐอเมริกา และทำให้บรรดาความพยายามทั้งหลายในการปรับปรุงความปลอดภัยของคนไข้เดินไปแบบไม่ถูกทิศทาง

******************

ขอให้คุณหมอ (ญ. + ช. + ที่ไม่รู้แน่ว่าตนเองเป็นเพศไหน) ที่จ้องจะฟ้องร้องเอาผิดท่านประธานเครือข่ายฯ ทางกฎหมายอยู่ ได้มีโชคดี สมไม่หวังรอดคุกรอดตารางจากงานนี้ ด้วยนะครับ
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง(เรื่องหมอ) [19 พ.ค. 54 14:02] ( IP A:115.87.243.123 X: )
ความคิดเห็นที่ 3
   วันนี้ ขอต่อด้วยการแปลหน้าแรกของรายงานเทียบภาษาอังกฤษมาด้วย ให้อ่านกันครับ อ้อ พวกตัวเลขกำกับด้านบนของคำบางคำท้ายของประโยคจะหมายถึงเอกสารอ้างอิงที่แจงไว้ที่ 2 - 3 หน้าท้ายของรายงานครับ

******************
Improving patient safety continues to be a priority for both policy makers and health care providers in the United States. As a result, during the ten years since the publication of the Institute of Medicine’s landmark report, To Err Is Human:
Building a Safer Health System, there have been numerous initiatives to improve the safety of patient care in the United States.1–4
การปรับปรุงเรื่องความปลอดภัยของคนไข้ยังคงเป็นความสำคัญลำดับต้นของทั้งผู้กำหนดนโยบายและผู้ให้บริการทางสุขภาพในสหรัฐฯ ดังนั้น ในระยะ 10 ปีตั้งแต่การตีพิมพ์เผยแพร่รายงานอันเป็นที่โจษจันของ The Institute of Medicine (I.O.M) เกี่ยวกับความผิดพลาดทางการแพทย์ในชื่อ To Err Is Human : Building a Safer Health System ก็ได้เกิดความริเริ่มกิจกรรมใหม่ๆเพื่อปรับปรุงความปลอดภัยของคนไข้ภายใต้บริการทางสุขภาพของสหรัฐฯ1–4

Several studies have reported on the often resource-intensive interventions intended to improve the safety and reliability of care in the highly fragmented US health care system.2–4 Many studies have attempted to evaluate the safety of US health care overall. Some emphasize great progress, and others highlight how much more work is to be done. A recent study of hospitals in North Carolina showed a high rate of adverse events that has not changed over time, despite notable efforts in the state to improve the safety of in-patient care5–7
จากผลการศึกษาหลายๆฉบับที่ได้รายงานถึงการแทรกแซงที่ใช้ทรัพยากรอย่างเข้มข้น ซึ่งต่างมุ่งไปที่ความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือของบริการทางการแพทย์ภายในระบบการดูแลสุขภาพของสหรัฐที่ถูกแบ่งเป็นเสี้ยวเป็นส่วนอย่างมากมายนี้2–4 ในงานศึกษาวิจัยหลายชิ้นก็ได้พยายามประเมินระดับความปลอดภัยของระบบดูแลสุขภาพของสหรัฐฯนี้โดยรวม บ้างก็เน้นที่ความก้าวหน้าที่ยอดเยี่ยม ส่วนรายงานอื่นๆก็เน้นที่ปริมาณเนื้องานอีกมากที่รอการลงมือทำ และจากการศึกษาเมื่อไม่นานมานี้ของหลายโรงพยาบาลในมลรัฐ North Carolina แสดงว่าอัตราการเกิดเหตุการณ์เลวร้ายมีอยู่สูงซึ่งไม่ได้เปลี่ยนไปเลยตามกาลเวลา ทั้งๆที่มีความพยายามอย่างเด่นชัดของรัฐบาลมลรัฐในการปรับปรุงความปลอดภัยคนไข้ภายในของโรงพยาบาล5–7

A key challenge has been agreeing on a yardstick for measuring the safety of care in hospitals.8 Some studies have relied on the rate of adverse events based on voluntarily reported sentinel events (any unanticipated event in a health care setting resulting in serious injury or death, not related to a natural course of the patient’s illness) at the national or state level. Many health care organizations have also used their own internally reported sentinel events to measure the safety of their system.9

อย่างไรก็ตาม ได้เกิดความท้าทายที่สำคัญจากข้อตกลงร่วมที่จะมีมาตรการตรวจวัดที่เปรียบเสมือนเป็นไม้หยั่งความมากน้อยของระดับความปลอดภัยของการดูแลคนไข้ภายในโรงพยาบาล8 ซึ่งจากการศึกษาบางชิ้นของมาตรการเหล่านี้ได้อิงกับอัตราการเกิดเหตุเลวร้ายจากเหตุการณ์ที่พบจากการเฝ้าระวังและมีการรายงานโดยสมัครใจ (ซึ่งก็คือเหตุการณ์ใดก็ตามที่เกิดขึ้นโดยไม่มีการคาดการณ์ล่วงหน้าในหน่วยบริการทางการแพทย์ ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับสภาพโดยธรรมชาติของความเจ็บป่วยในตัวคนไข้) ซึ่งเป็นรายงานในระดับชาติหรือระดับมลรัฐ หลายหน่วยงานสาธารณสุขเช่นกันยังได้ใช้รายงานภายในโดยสมัครใจของหน่วยเองสำหรับเหตุเลวร้ายที่มีการเฝ้าระวังเพื่อตรวจวัดความปลอดภัยภายในระบบการทำงานของตัวเองด้วย9

This focus on sentinel events has been encouraged by the adoption of reporting patient safety “never events” (events that should not have happened; for example, deaths from blood transfusions) in several states. The Joint Commission’s
Sentinel Event Policy of 1996 and the Patient Safety and Quality Improvement Act of 2005 encourage further development of such voluntary reporting systems.10 However, an Institute of Medicine–sponsored review noted that voluntary reporting systems miss many significant adverse events, and it called for the development of other methods for measuring patient safety.11
การพุ่งเป้าไปที่เหตุการณ์ซึ่งมีการเฝ้าระวังนี้ได้รับการสนับสนุนโดยการประยุกต์ใช้การรายงานเรื่องความปลอดภัยของคนไข้ในหัวข้อ “Never Event” (เหตุการณ์ซึ่งไม่ควรเกิดขึ้นเลย เช่น การตายจากสาเหตุของการถ่ายเลือด) ในหลายมลรัฐด้วยกัน คณะกรรมการร่วมที่ใช้ชื่อว่า The Joint Commission’s Sentinel Event Policy of 1996 และคณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นภายใต้กฎหมาย the Patient Safety and Quality Improvement Act of 2005 ได้สนับสนุนการพัฒนาต่อไปของของระบบการรายงานด้วยความสมัครใจเช่นนี้

******************
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง(เรื่องหมอ) [20 พ.ค. 54 8:59] ( IP A:115.87.243.123 X: )
ความคิดเห็นที่ 4
   แปลหน้าที่ 2

******************

อย่างไรก็ตาม จากการทบทวนระบบงานเช่นนี้ซึ่งสนับสนุนโดยสถาบัน I.O.M. มีหมายเหตุว่าระบบการรายงานเหตุนั้นพลาดการรายงานเหตุการณ์เลวร้ายที่สำคัญหลายครั้งหลายหนด้วยกัน ทั้งเรียกร้องให้มีการพัฒนาวิธีการอื่นๆอีกเพื่อการตรวจวัดความปลอดภัยของคนไข้11

Some—including the Institute for Healthcare Improvement in its 100,000 Lives and 5 Million Lives Campaigns—have used overall and risk adjusted hospital mortality rates, which take into account the severity of medical conditions, as global measures of patient safety.12 Many health care organizations have also adopted a mandatory
review of the records of all patient deaths as part of this approach to measuring safety.11 However, mortality rates are crude measures of safety that focus on the most extreme events and are not suitable for evaluating the overall effect of multifaceted patient safety programs or the effect of specific interventions.
รายงานบางชิ้น เช่นของ the Institute for Healthcare Improvement ซึ่งทำขึ้นจากโครงการ 100,000 Lives and 5 Million Lives Campaigns (โครงการ หนึ่งแสนชีวิตที่สูญไปเพื่ออีกห้าล้านชีวิตที่ปลอดภัย) ได้ใช้อัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลโดยรวมที่ถูกปรับแก้ความเสี่ยงแล้ว ซึ่งได้คำนึงถึงระดับวิกฤตมากน้อยของสภาพทางการแพทย์เข้ามาพิจารณาด้วย แล้วประมวลเป็นข้อมูลของ global measures of patient safety.12 (มาตรวัดความปลอดภัยของคนไข้สากล) นอกจากนี้หลายหน่วยงานทางสาธารณสุขยังได้ประยุกต์เอาการทบทวนภาคบังคับสำหรับบันทึกของการตายของคนไข้ทั้งหมดไว้เป็นส่วนหนึ่งของมาตรการสอบวัด ความปลอดภัยนี้11 อย่างไรก็ตาม ตัวเลขอัตราการเสียชีวิตนี้จะเป็นเพียงการสอบวัดอย่างหยาบของความปลอดภัยซึ่งมุ่งไปที่เหตุการณ์ในสภาวะสุดขั้ว และจะไม่เหมาะที่จะใช้ประเมินผลกระทบโดยรวมจากหลายแง่มุมของโปรแกรมความปลอดภัยของคนไข้ หรือผลจากการมีกิจกรรมเฉพาะที่คั่นมาในระหว่างกลางของขั้นตอนทางการแพทย์ก็ตาม

Accordingly, other measures of patient safety—such as the Agency for Healthcare Research and Quality’s Patient Safety Indicators or the Utah/Missouri Adverse Event Classification (a superset of Patient Safety Indicators)—have been developed with ease of use and automated mining of administrative and financial databases in mind. Both of these measures rely on an automated review of discharge codes to detect adverse events.13–15 The Utah/Missouri approach is more comprehensive because it uses many more diagnostic codes. Organizations, states, and the Centers for Medicare and Medicaid Services have used these measures to compare or benchmark hospitals’ performance for patient safety.
ดังนั้น จึงมีมาตรการอื่นสำหรับความปลอดภัยของคนไข้ถูกพัฒนาขึ้นมา อย่างเช่น ของ the Agency for Healthcare Research และของ Quality’s Patient Safety Indicators หรือ the Utah/Missouri Adverse Event Classification (ภาคที่ซับซ้อนขึ้นของวิธี Patient Safety Indicators) เพื่อการใช้งานที่ง่ายขึ้นและปลูกฝังความนึกคิดด้านการบริหารจัดการและฐานข้อมูลทางการเงินให้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ ซึ่งวิธีการทั้งสองนี้จะอิงอยู่กับการทบทวนซึ่งเป็นไปอย่าง
อัตโนมัติของ discharge codes เพื่อการตรวจจับเหตุการณ์เลวร้ายอันไม่พึงประสงค์13–15 สำหรับวิธีของ Utah/Missouri นั้นจะมีความถี่ถ้วนมากกว่าเนื่องจากมีการใช้ diagnostic codes อีกจำนวนมาก บรรดาองค์กรต่างๆแม้กระทั่งระดับมลรัฐ รวมทั้ง the Centers for Medicare and Medicaid Services (เทียบเท่า ส.ป.ส.ช.) ต่างก็ใช้วิธีการดังกล่าวทั้งสองเพื่อเปรียบเทียบและปักหมุดกำหนดระดับมาตรฐานโรงพยาบาลสำหรับความปลอดภัยของคนไข้

Some studies have suggested that these automated measures of patient safety are neither sensitive nor specific enough to correctly identify adverse events.16 This concern has prompted the search for more direct approaches to measuring adverse events. Such approaches generally rely on more exhaustive physician or nurse reviews
of a patient’s complete medical record or chart. This was the approach used in the Harvard Medical Practice Study of adverse events in hospital patients.17 However; it is extremely labor intensive, which limits its use.
ยังมีรายงานบางชิ้นที่ชี้ว่า มาตรการที่ถูกทำให้เดินไปอย่างอัตโนมัติเหล่านี้สำหรับความปลอดภัยของคนไข้ทั้งไวไม่พอและเจาะจงไม่พอที่จะบ่งชี้เหตุการณ์เลวร้ายได้อย่างถูกต้อง16 และความกังวลข้อนี้ได้กระตุ้นให้เกิดการค้นหาวิธีการที่ตรงเป้ามากกว่านี้เพื่อตรวจจับเหตุการณเลวร้าย และวิธีการเหล่านั้นโดยทั่วไปก็มักจะพึ่งพาการทำงานของทั้งหมอและพยาบาลที่เหนื่อยมาจากงานประจำแล้วเพื่อที่จะตรวจทานเวชระเบียนคนไข้และ chart ข้อมูลต่างๆทั้งหมดโดยสมบูรณ์ และนี่คือวิธีการซึ่งกำหนดไว้ใน Harvard Medical Practice Study เพื่อทำการศึกษาถึงเหตุการณ์เลวร้ายที่เกิดกับคนไข้ภายในของโรงพยาบาล17 อย่างไรก็ตาม นี่เป็นวิธีที่สิ้นเปลืองแรงงานมากจริงๆซึ่งเป็นสภาพที่ไปจำกัดการใช้อย่างแพร่หลาย

******************

ต่อ ค.ห. ถัดไป
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง(เรื่องหมอ) [24 พ.ค. 54 12:38] ( IP A:58.8.154.219 X: )
ความคิดเห็นที่ 5
   In response to the need for a more practical and less labor-intensive approach to assessing patient safety, the Institute for Healthcare Improvement developed the Global Trigger Tool.18 This new method has been increasingly used by hospitals in the United States and the United Kingdom (such as Ninewells Hospital near Dundee,
Scotland, as described in the article by Carol Haraden and Jason Leitch, also in this issue).19 The tool has also been used by quality improvement organizations, and by regulators such as the Department of Health and Human Services (HHS) Office of Inspector General, which has used it in a study to estimate the incidence of
adverse events in hospitalized Medicare patients.20
เพื่อสนองตอบความต้องการวิธีการที่สะดวกกว่าในการปฏิบัติและสิ้นเปลืองแรงงานน้อยกว่าเพื่อที่จะประเมินความปลอดภัยของคนไข้ สถาบัน the Institute for Healthcare Improvement จึงพัฒนาวิธีการที่เรียกว่า the Global Trigger Tool.18 ขึ้นมา เป็นวิธีซึ่งกำลังมีการใช้กันเพิ่มขึ้นทั้งโรงพยาบาลในสหรัฐฯและสหราชอาณาจักรอังกฤษ (เช่น Ninewells Hospital ใกล้เมือง Dundee, Scotland, ดังที่อธิบายไว้ในบทความที่เขียนโดย Carol Haraden and Jason Leitch, และในบทความนี้ด้วย).19 วิธีการนี้ยังถูกนำมาใช้ในองค์กรที่ทำงานด้านการปรับปรุงคุณภาพงานสาธารณสุข และโดยผู้กำกับนโยบายอย่าง the Department of Health and Human Services (HHS)[เทียบได้กับ ส.ป.ส.ช.> ที่สำนักผู้ตรวจการ ซึ่งได้ใช้ทำการศึกษาเพื่อประเมินหาเหตุการณ์ในสภาพเลวร้ายที่เกิดกับคนไข้ภายใต้โครงการ Medicare.20
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [9 มิ.ย. 54 15:49] ( IP A:58.8.153.170 X: )
ความคิดเห็นที่ 6
   This study by the HHS Office of Inspector General has led to recommendations that the Centers for Medicare and Medicaid Services develop new detection methods for adverse events in hospitalized Medicare beneficiaries. The study has also informed ongoing work to evaluate and update national patient safety measures at the National
Quality Forum, a nonprofit organization that seeks to build consensus around national
performance measures for quality and disseminate them. The Global Trigger Tool uses specific methods for reviewing medical charts. Closed patient charts are reviewed by two or three employees—usually nurses and pharmacists, who are trained to review the charts in a systematic manner by looking at discharge codes, discharge summaries, medications, lab results, operation records, nursing notes, physician progress notes, and other notes or comments to determine whether
there is a “trigger” in the chart. A trigger could be a notation indicating, for example, a medication stop order, an abnormal lab result, or use of an antidote medication. Any notation of a trigger leads to further investigation into whether an adverse event occurred and how severe the event was. A physician ultimately has to examine and
sign off on this chart review.21
การศึกษาโดยผู้ตรวจการของ HHS Office นี้ได้นำไปสู่การประกาศแนวทางปฏิบัติโดย the Centers for Medicare and Medicaid Services เพื่อที่จะพัฒนาวิธีการใหม่เพื่อการตรวจจับเหตุการณ์เลวร้ายที่เกิดกับผู้รับประโยชน์จากโครงการ Medicare ซึ่งเข้ารับการรักษาภายโรงพยาบาล การศึกษาชิ้นนี้ยังแสดงงานที่กำลังเดินไปเพื่อประเมินและติดตามอย่างทันเหตุการณ์ถึงมาตรการระดับชาติเพื่อความปลอดภัยของคนไข้ที่ the National Quality Forum หน่วยงานซึ่งไม่แสวงผลกำไรซึ่งมุ่งทำงานเพื่อสร้างสำนึกร่วมกันในมาตรการสำหรับการปฏิบัติระดับชาติเพื่อคุณภาพและได้เผยแพร่ออกไป วิธีการ The Global Trigger Tool นี้จะใช้วิธีการที่เจาะจงในการทบทวน chart ต่างๆทางการแพทย์ เวชระเบียนที่ถูกปิดแล้วจะถูกนำมาทบทวนโดยเจ้าหน้าที่ 2 หรือ 3 คนซึ่งมักจะเป็นพยาบาลและเภสัชกรผู้ซึ่งได้รับการฝึกให้ทบทวน chart ต่างๆอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ทั้งนี้ โดยการเพ่งเล็งที่ discharge codes (รหัสปล่อยตัวคนไข้) , discharge summaries (สรุปรายงานการปล่อยตัวคนไข้), medications (รายงานการให้ยา), lab results (รายงานผลทดสอบจากห้องปฏิบัติการ), operation records (บันทึกการผ่าตัด), nursing notes (รายงานพยาบาล), physician progress notes (รายงานติดตามคนไข้), and other notes or comments (บันทึกและความเห็นอื่นๆ) เพื่อที่จะประเมินได้ว่ามีจุดใดบน charts เหล่านั้นสะดุดตา (Trigger) ตามเป้าประสงค์ของการทบทวนนี้หรือไม่? จุดสะดุดตาเช่นว่านั้นอาจเป็น ตัวอย่างเช่น หมายเหตุที่บ่งชี้อาการของการหยุดยา หมายเหตุของผลทดสอบทางห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติ หรือการใช้ยาถอนพิษ ซึ่งข้อบ่งชี้ใดๆที่สะดุดตาจะนำไปสู่การสอบสวนเพิ่มเติมเพื่อดูว่ามีเหตุการณ์เลวร้ายเกิดขึ้นหรือไม่? และมากขนาดไหน? และท้ายที่สุดจะมีแพทย์เป็นผู้ลงชื่อรับรองผลการทบทวน chart ของเวชระเบียนชุดนั้น21
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [10 มิ.ย. 54 14:16] ( IP A:115.87.234.178 X: )
ความคิดเห็นที่ 7
   In our study we evaluated the ability of these three methods (the hospital’s voluntary reporting system, the Agency for Healthcare Research and Quality’s Patient Safety Indicators, and the Institute for Healthcare Improvement’s Global Trigger Tool) to detect the incidence of adverse events among inpatients in three leading hospitals
that have invested heavily in advanced patient safety programs, initiatives, and research projects. We also compared the performance of these methods for measuring patient safety among the three hospitals. This article reports our findings.
ในการศึกษาของเรานั้นเราได้ประเมินความสามารถของทั้งสามวิธีการนี้ (คือการรายงานโดยสมัครใจ, วิธีของ the Agency for Healthcare Research and Quality’s Patient Safety Indicators และวิธี Global Trigger Tool ของ the Institute for Healthcare Improvement)ในการตรวจจับเหตุการณ์ซึ่งมีสภาพเลวร้ายจากในบรรดาคนไข้ภายในของ 3 โรงพยาบาลชั้นนำด้วยกัน ซึ่งทั้งสามโรงพยาบาลนั้นต่างก็ได้ลงทุนอย่างหนักไปในโปรแกรมความปลอดภัยของคนไข้ขั้นก้าวหน้าแล้ว รวมทั้งการริเริ่มแนวคิดแนวปฏิบัติใหม่และโครงการวิจัยหลายโครงการด้วยกัน นอกจากนี้เรายังได้ทำการเปรียบเทียบสมรรถภาพของทั้งสามวิธีการนี้ในการสอบวัดความปลอดภัยของคนไข้ในทั้งสามโรงพยาบาล และรายงานนี้จะแสดงข้อมูลที่เราค้นพบ

Study Data and Methods (ข้อมูลและวิธีการที่ใช้ศึกษา)

We evaluated the incidence of adverse events for inpatients at three hospitals, using several methods of detecting adverse events: retrospective record review (working backward from patients’ medical charts) using the Institute for Healthcare Improvement’s Global Trigger Tool; each hospital’s voluntary sentinel event or other incident or event reporting system; and screening with the Agency for Healthcare Research and Quality’s Patient Safety Indicators. We also used automated screening with the Utah/Missouri Adverse Event Classification at one hospital.15
เราได้ประเมินเหตุการณ์ที่มีสภาพเลวร้ายของคนไข้ภายในของโรงพยาบาล 3 แห่งด้วยกัน โดยใช้หลายวิธีการในการตรวจจับเหตุการณ์เลวร้าย ทั้งนี้จากการทบทวนเวชระเบียนย้อนจากหลังไปหน้าจาก medical chart ของคนไข้ โดยใช้วิธีของ the Institute for Healthcare Improvement’s Global Trigger Tool และควบไปกับรายงานโดยสมัครใจหรือรายงานเหตุการณ์อื่นๆหรือระบบการรายงานแบบอื่นของแต่ละโรงพยาบาล จากนั้นก็คัดแยกอีกด้วยวิธีของ the Agency for Healthcare Research and Quality’s Patient Safety Indicators นอกจากนี้เรายังใช้วิธี automated screening with the Utah/Missouri Adverse Event Classification กับโรงพยาบาลหนึ่งด้วย15

Because of our confidentiality agreements with the hospitals, we cannot identify them, but we provide additional information on key characteristics of the hospitals below.
เนื่องจากเรามีข้อตกลงกับทางโรงพยาบาลทั้งสามแห่งในการรักษาความลับจึงไม่สามารถแสดงชื่อของโรงพยาบาลได้ในรายงานนี้ แต่เราได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมไว้เพื่อระบุลักษณะพิเศษที่สำคัญของโรงพยาบาลเหล่านั้นไว้ด้านล่างนี้

We needed to evaluate the overall performance sensitivity and specificity, as well as the positive and negative predictive value, of the three detection methods. Thus, a physician-led local review team (see the Appendix for more detail)22 independently
conducted a complete detailed review of all hospital records for patients included in the study at one hospital (hospital A) and a review of all clinical, financial, administrative, electronic, and longitudinal health history information on those same patients.
เนื่องจากเราจำต้องประเมินสมรรถภาพโดยรวมของความไวและความเจาะจงโดยเฉพาะ รวมทั้งค่าตัวเลขที่คาดการณ์ได้ทั้งด้านบวกและลบของวิธีการตรวจจับทั้งสามวิธี ดังนั้น จึงกำหนดให้ทีมงานในพื้นที่ซึ่งมีแพทย์เป็นหัวหน้าทีมได้ทำงานอย่างอิสระในการสอบและทบทวนข้อมูลทั้งหมดอย่างละเอียดและสมบูรณ์ของบรรดาเวชระเบียนทั้งหมดของคนไข้22 ซึ่งรวมทั้งศึกษาข้อมูลของโรงพยาบาลหนึ่งด้วย (โรงพยาบาล A) ทั้งนี้ โดยคลุมรายงานทางคลินิก, ทางการเงิน, ทางการบริหาร, ทางอีเล็คทรอนิคส์และรวมถึงประวัติอันยาวนานโดยตลอดของบรรดาคนไข้ชุดเดียวกันนั้น
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [10 มิ.ย. 54 14:17] ( IP A:115.87.234.178 X: )
ความคิดเห็นที่ 8
   The Global Trigger Tool is based on prior work by David Classen at LDS Hospital in Utah and the Harvard Medical Practice Study methodology for retrospective hospital chart review.23–26 Hospital teams first used an Adverse Drug Event Trigger Tool to detect adverse drug events during an Institute Breakthrough Series Collaborative,
which began in 2000 to bring together teams from hospitals and clinics to focus on specific areas of improvement.27
วิธี The Global Trigger Tool นั้นจะอิงอยู่กับข้อมูลของงานก่อนหน้านี้ซึ่งทำไว้โดยคุณหมอ David Classen ที่ LDS Hospital ในมลรัฐ Utah และวิธีการของ the Harvard Medical Practice Study methodology เพื่อการย้อนตรวจสอบจากหลังไปหน้าในการทบทวน charts ของโรงพยาบาล23–26 ขั้นแรกทีมงานของโรงพยาบาลได้ใช้วิธี Adverse Drug Event Trigger Tool เพื่อตรวจจับเหตุการณ์เลวร้ายในระหว่างที่มีโครงการร่วมมือในชื่อ Institute Breakthrough Series Collaborative ซึ่งเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 2000 เพื่อที่จะประสานความร่วมมือระหว่างทีมของโรงพยาบาลและของคลินิกเพื่อมุ่งไปที่เรื่องเฉพาะทางที่สามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้27

The institute and its faculty subsequently developed additional trigger tools to detect adverse events in the adult intensive care unit, in surgical and perinatal populations, and in neonatal and pediatric intensive care units.28–30 The institute then developed the Global Trigger Tool in 2003 to detect adverse events across an entire hospital. The tool has been evaluated in terms of interrater reliability (the amount or degree of agreement among the raters or methods) specifically for the review approach used in this study.31
ทางสถาบัน Institute for Healthcare Improvement และคณะผู้เชี่ยวชาญได้ร่วมกันพัฒนาวิธีการตรวจจับเพิ่มเติมเพื่อที่จะสอบหาเหตุการณ์เลวร้ายภายในหน่วย ICU ของผู้ป่วยวัยเจริญพันธุ์ (Adult), ในคนไข้รับการผ่าตัดและทารกแรกคลอด, และในคนไข้ ICU แบบ neonatal และ pediatric28–30 จากนั้นสถาบันจึงได้พัฒนาต่อเนื่องไปเป็นวิธี the Global Trigger Tool ในปี ค.ศ. 2003 เพื่อตรวจจับเหตุเลวร้ายทั่วทั้งโรงพยาบาล วิธีนี้ได้รับการประเมินความเที่ยงตรงในแง่ของ interrater reliability (ปริมาณหรือระดับมากน้อยของความสอดคล้องกันของผู้ประเมินและตัววิธีการ) โดยเฉพาะเพื่อการสอบ/ทบทวนวิธีการที่ใช้ไปในการศึกษาชิ้นนี้31

Our study used the Global Trigger Tool methodology in a two-stage review process, refined from the Harvard Medical Practice Study’s methodology.32 The same team of four nonphysician reviewers (“primary reviewers”) and two physician reviewers (“secondary reviewers”) participated in the review process for all records
sampled from the three hospitals. Additional detail is available in the Appendix.22
การศึกษาของเราได้ใช้วิธี the Global Trigger Tool ในการทำงานทบทวนแบบสองขั้นตอนโดยกลั่นกรองมาจากวิธีการของ the Harvard Medical Practice Study’s methodology.32 ทั้งนี้ โดยทีมงานเดียวกันของบุคลากรที่ไม่ใช่แพทย์ 4 คนทำหน้าที่เป็นผู้ทบทวนหลัก (Primary reviewer) และ นายแพทย์สองนายทำหน้าที่ผู้ทบทวนขั้นสอง สำหรับผู้ทบทวนขั้นสองจะร่วมกันทบทวนบรรดาเวชระเบียนที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างจาก 3 โรงพยาบาล รายละเอียดเพิ่มเติมจะอยู่ในเอกสารผนวก22

We used the following definition for harm: “unintended physical injury resulting from or contributed to by medical care that requires additional monitoring, treatment, or hospitalization, or that results in death.”33 Because of prior work with Trigger Tools and the belief that ultimately all adverse events may be preventable, we did not attempt to evaluate the preventability or ameliorability (whether harm could have been reduced if a different approach had been taken) of these adverse events. All events found were classified using an adaptation of the National Coordinating Council for Medication Error Reporting and Prevention’s Index for Categorizing Errors.34
เราได้ใช้นิยามต่อไปนี้ของคำว่า Harm (อันตราย) กล่าวคือ: การบาดเจ็บทางกายโดยไม่ตั้งใจซึ่งเป็นผลจากหรือมีส่วนทำให้เกิดขึ้นโดยบริการทางการแพทย์ซึ่งจำเป็นต้องมีการเฝ้าติดตาม, บำบัด หรือพักรักษาตัวในโรงพยาบาล หรือแม้แต่ถึงชีวิต33 และเนื่องเพราะงานล่วงหน้าที่เกิดขึ้นก่อนการดำเนินวิธีตรวจจับข้อมูลสะดุดตา ร่วมกับความเชื่อที่ว่า “บรรดาเหตุเลวร้ายทั้งหมดนั้นเราอาจป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้ในที่สุด” ดังนั้นเราจึงไม่ได้พยายามที่จะประเมินว่าเหตุเลวร้ายแต่ละเหตุที่พบนั้นสามารถป้องกันได้มากน้อยเพียงใด? หรืออันตรายที่เกิดขึ้นนั้นอาจลดลงได้หรือไม่เพียงใด?หากใช้วิธีทำงานที่ต่างออกไป เหตุเลวร้ายทั้งหมดที่พบนี้ถูกจัดหมวดหมู่โดยการประยุกต์ใช้ดัชนีที่เรียกว่า the National Coordinating Council for Medication Error Reporting and Prevention’s Index for Categorizing Errors.34
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [10 มิ.ย. 54 14:21] ( IP A:115.87.234.178 X: )
ความคิดเห็นที่ 9
   In addition, all events were assigned to broad categories by consensus of the two secondary reviewers. Categories included medication; infection; device failure; pressure injuries; procedures; surgery; pulmonary/thromboembolism, patient falls, and anesthesia; and cardiac/myocardial infarction.
นอกจากนี้ บรรดาเหตุการณ์ทั้งหมดได้ถูกจัดแบ่งหมวดหมู่แบบกว้างๆตามความเห็นร่วมอย่างสอดคล้องกันของสองผู้ทบทวนขั้นที่สอง หมวดหมู่ที่ถูกจัดขึ้นไว้คือ การให้ยา การติดเชื้อ ความบกพร่องของเครื่องมือ การบาดเจ็บจากความดันเลือด จากขั้นตอนการบำบัดรักษา การผ่าตัด จากภาวะหลอดเลือดปอด/ที่ขาอุดตัน คนไข้ตกเตียง และภาวะหมดสติ หัวใจ/เยื่อบุกล้ามเนื้อหัวใจติดเชื้อ

Hospital Selection (การคัดเลือกโรงพยาบาลเพื่อทำวิจัย)
We selected three large US tertiary care centers that had well-established operational patient safety programs based on the following criteria: (1) They received external funding for patient safety research; (2) they had internal operational programs focused on improved detection of safety incidents and adverse
events through patient safety reporting programs, and special tools built around advanced electronic health record systems used within all three organizations; (3) and they had received external recognition for internal patient safety initiatives through awards, publications, or involvement in national initiatives.
การคัดเลือกโรงพยาบาล เราได้เลือกโรงพยาบาลขนาดใหญ่ 3 แห่งของสหรัฐซึ่งเป็นศูนย์การแพทย์ระดับตติยภูมิ (ขั้นสาม) และมีการวางโปรแกรมปฏิบัติการด้านความปลอดภัยของคนไข้ไว้เป็นอย่างดี ทั้งนี้โดยมุ่งที่เกณฑ์การคัดเลือกดังต่อไปนี้คือ (1) เป็นโรงพยาบาลที่ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากภายนอกในการทำวิจับเรื่องความปลอดภัยของคนไข้ (2) มีโปรแกรมการปฏิบัติงานภายในซึ่งมุ่งที่การปรับปรุงการตรวจจับเหตุการณ์ด้านความปลอดภัยและเหตุเลวร้ายผ่านโปรแกรมการรายงานความปลอดภัยของคนไข้ ทั้งมีการจัดทำขั้นตอน/เครื่องมือพิเศษที่วางควบไปกับระบบบันทึกเวชระเบียนอีเล็คทรอนิคส์ขั้นสูง (3) เป็นโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานภายนอกสำหรับกิจกรรมริเริ่มด้านความปลอดภัยของคนไข้ผ่านการรับรางวัล คำชมผ่านบทความในวารสาร หรือการเข้าร่วมในกิจกรรมริเริ่มระดับชาติในเรื่องนี้

All three hospitals were part of large health systems. Hospital C was an academic hospital, and hospitals A and B were community-based teaching hospitals. Hospital A was located in a midsize metropolitan area in the West, hospital B was in a large metropolitan area in the Midwest, and hospital C was in a large metropolitan
area in the Northeast. Hospital size ranged from 550 to 1,000 beds, and all three hospitals offered a full range of medical services, covering primary care to quaternary care.
ทั้งสามโรงพยาบาลนั้นเป็นส่วนหนึ่งของระบบประกันสุขภาพขนาดใหญ่ โรงพยาบาล C นั้นเป็นโรงเรียนแพทย์ด้วย ส่วนโรงพยาบาล A และ B นั้นเป็นโรงเรียนอนามัยระดับชุมชน โรงพยาบาล A ตั้งอยู่ในเขตมหานครขนาดกลางทางภาคตะวันตก โรงพยาบาล B ตั้งอยู่ในมหานครใหญ่ทางภาคตะวันตกกลาง และโรงพยาบาล C ตั้งอยู่ในมหานครใหญ่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งสามแห่งมีจำนวนเตียงคนไข้ระหว่าง 550 ถึง 1000 เตียง และต่างก็ให้บริการทางการแพทย์คลุมทุกสาขาตั้งแต่ขั้นพื้นฐานไปจนถึงขั้นที่สี่

All three hospitals were major tertiary (specialized) referral centers with significant local market share and were teaching hospitals for their respective medical schools. Each hospital received local Institutional Review Board permission for its participation in the study.
ทั้งสามโรงพยาบาลล้วนเป็นศูนย์การแพทย์หลักเฉพาะทางในการส่งต่อซึ่งครอบคลุมพื้นที่บริการสำคัญของท้องที่ และเป็นทั้งสถานที่ฝึกสอนให้กับโรงเรียนแพทย์/อนามัยในสังกัดของตนด้วย แต่ละโรงพยาบาลเองก็ได้รับใบอนุญาตจากคณะกรรมการการศึกษาในพื้นที่ให้เป็นสถานศึกษาได้
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [10 มิ.ย. 54 14:23] ( IP A:115.87.234.178 X: )
ความคิดเห็นที่ 10
   Patient Selection We randomly selected study patients from all adult (age on admission greater than eighteen years) inpatients (length of-stay more than twenty-four hours) admitted during the period October 1–31, 2004. Medical records for study patients were administratively complete and included a completed discharge summary. A random-number generator was used corresponding to the last digit of the patient record number. Records were assigned identification numbers, and all evidence of patient identification was removed from the abstracted data. Statistical analysis was done using the statistical software Stata (version 10).
การคัดเลือกคนไข้ คนไข้ซึ่งเราคัดเลือกมาทำการศึกษาชิ้นนี้ทั้งหมดเป็นคนไข้ผู้ใหญ่ (อายุขณะที่รับตัวเข้ารักษาเกินกว่า 18 ปี) เป็นคนไข้ภายใน (ระยะเวลาพักรักษาตัวมากกว่า 24 ช.ม.) ซึ่งเข้ารักษาตัวระหว่าง 1 – 31 ต.ค. 2004 เวชระเบียนสำหรับนำมาศึกษานี้เป็นเอกสารที่ผ่านกระบวนการทางการบริหารจัดการที่ครบถ้วนสมบูรณ์และได้รวมเอารายงานการที่สมบูรณ์ของการปล่อยตัวคนไข้ออกไปด้วย การเลือกเวชระเบียนมาทำการศึกษานั้นใช้สุ่มจากตัวเลขสองหลักสุดท้ายของเวชระเบียน จากนั้นเวชระเบียนก็ถูกกำหนดหมายเลขอ้างอิงขึ้นใหม่และบรรดาข้อมูลทั้งหมดที่สามารถใช้ระบุตัวคนไข้ได้จึงถูกลบออกไป เราทำการวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ซอฟท์แวร์เฉพาะทางที่เรียกว่า Stata (version 10)

Limitations (ข้อจำกัดของการวิจัยชิ้นนี้)
Our study was constrained by several limitations. First, the detection of adverse events by all of the methods we examined probably represents a minimum number of adverse events actually present in these hospitalizations, based on medical record documentation alone. Because patients’ hospitalizations were not reviewed
in real time by direct observation, this study could not assess the actual number of adverse events. Although not an absolute gold standard, the detailed review at hospital A of all available longitudinal patient information for those patients included in the study does allow for an approximation of sensitivity (true positives), specificity (false positives), and predictive value (ability to detect) of the three methods.
ขอบเขตของการศึกษา งานชิ้นนี้มีข้อจำกัดอยู่หลายข้อด้วยกัน หนึ่งคือการตรวจจับเหตุการณ์เลวร้ายด้วยวิธีการทั้งหมดที่เราใช้ทดสอบนี้อาจเป็นไปได้ว่าจะแสดงจำนวนครั้งเพียงอย่างน้อยที่สุดของเหตุเลวร้ายที่เกิดขึ้นกับคนไข้ที่เข้าพักรักษาตัวภายในโรงพยาบาลซึ่งเป็นการอ้างอิงกับเวชระเบียนเพียงเท่านั้น ทั้งนี้เพราะการทบทวนกับเวชระเบียนนี้ไม่ใช่การทบทวนอย่างทันท่วงทีจากในที่เกิดเหตุในสภาพของการเฝ้าสังเกตโดยตรง การศึกษานี้จึงไม่สามารถประเมินตัวเลขที่แท้จริงของจำนวนเหตุเลวร้ายที่เกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม แม้ว่างานนี้จะไม่ใช่ข้อสรุปมาตรฐานที่มีความสมบูรณ์สูงสุด แต่การตรวจทบทวนในรายละเอียดที่โรงพยาบาล A ของบรรดาข้อมูลคนไข้จำนวนเท่าที่มีอยู่และทำจากต้นไล่เรียงไปโดยตลอดจนถึงปลาย ซึ่งได้รับการรวบรวมไว้ในรายงานนี้ ได้ทำให้เราสามารถประมาณการออกมาได้ถึงความไวในการตรวจพบ (เหตุแท้จริง ไม่ใช่ภาพลวงหรือการเข้าใจผิด), ความเจาะจงเฉพาะของการตรวจจับ (เป็นความผิดพลาดจริง), ค่าตัวเลขที่ทำนายได้ (ความสามารถในการตรวจจับ) ของทั้งสามวิธีการดังกล่าว

Second, the hospitals selected for this review represented hospitals that had developed extensive patient safety programs, and they might not represent average hospitals across the country. Therefore, our findings may represent fewer or more adverse events than seen in other organizations.
สอง คือ โรงพยาบาลที่ถูกคัดเลือกเพื่อการศึกษาชิ้นนี้จะเป็นตัวแทนของโรงพยาบาลซึ่งได้มีการพัฒนาโปรแกรมด้านความปลอดภัยของคนไข้มาแล้วอย่างกว้างขวาง และพวกเหล่านี้อาจไม่ได้เป็นตัวแทนค่าเฉลี่ยของโรงพยาบาลทั่วทั้งประเทศนี้ ดังนั้น การค้นพบของเราในงานชิ้นนี้อาจสะท้อนบอกจำนวนของเหตุเลวร้ายที่น้อยกว่าหรือมากกว่าที่จะพบได้จากการศึกษาขององค์กรอื่นๆ

Third, each of these hospitals is a tertiary referral center; thus, they may represent a more complex patient mix than the average hospital
สาม ในแต่ละโรงพยาบาลในทั้งสามแห่งนี้ล้วนเป็นศูนย์บริการทางการแพทย์เพื่อการส่งต่อในระดับตติยภูมิ ดังนั้น โดยสภาพก็อาจมีคนไข้หลายๆลักษณะที่ปะปนกันเข้ามาอย่างซับซ้อนมากกว่าโรงพยาบาลทั่วๆไป
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [10 มิ.ย. 54 14:25] ( IP A:115.87.234.178 X: )
ความคิดเห็นที่ 11
    Study Results (ผลการศึกษา)

A total of 795 patient records were reviewed from the three hospitals in the study. Exhibit 1 shows the overall demographics of the population from each hospital, for both the sample and the population from which the sample was drawn. Patients
in the study sample were similar to the overall population at each hospital in terms of
age, sex, acute length-of-stay, and case-mix. Average mortality of the sample was similar to that of the overall population at two of the hospitals but differed at the third.
เราได้ทำการตรวจทบทวนเวชระเบียนของ คนไข้ทั้งหมดจำนวน 795 รายจากสามโรงพยาบาลด้วยกัน ในงานวิจัยชิ้นนี้ ตารางที่ 1 จะแสดงการกระจายตัวทางสถิติของคนไข้แบ่งตามลักษณะและสภาพเฉพาะของคนไข้ของแต่ละโรงพยาบาล ทั้งนี้ โดยเทียบกับตัวเลขทางสถิติรวมของทั้งโรงพยาบาลในแต่ละแห่งไว้ด้วย สำหรับคนไข้ที่เป็นตัวอย่างในรายงานชิ้นนี้คล้ายคลึงกับประชากรคนไข้โดยรวมของแต่ละแห่งในแง่ของ อายุ เพศ ระยะเวลาพักที่สะดุดความสนใจ และความซับซ้อนของอาการเจ็บป่วยในคนไข้ที่รับเข้ามา สำหรับอัตราการเสียชีวิตโดยเฉลี่ยจะใกล้เคียงกับสถิติโดยรวมของสองโรงพยาบาลแต่แตกต่างกับโรงพยาบาลที่สาม

Among the 795 patient records reviewed, 393 adverse events were detected by all three methods combined. The Global Trigger Tool methodology detected 354 adverse events (90.1 percent of the total), the local hospital reporting systems detected 4 adverse events (1.0 percent), and the Patient Safety Indicators detected 35 adverse
events (8.99 percent).
จากจำนวนเวชระเบียนคนไข้ 795 ราย เราตรวจพบเหตุเลวร้ายจำนวน 393 กรณีโดยใช้วิธีการทั้งสามวิธีร่วมกัน สำหรับวิธีของ The Global Trigger Tool ตรวจพบ 354 กรณี ( 90.1% ของทั้งหมด) ส่วนระบบการรายงานของโรงพยาบาลเองตรวจพบเพียง 4 กรณี (1.0% ของทั้งหมดที่พบ) และวิธีของ the Patient Safety Indicators ตรวจพบ 35 กรณี (8.99% ของทั้งหมด)

Overall, adverse events occurred in 33.2 percent of hospital admissions (range: 29–36 percent) or 91 events per 1,000 patient days (range: 89–106). Some patients experienced more than one adverse event; the overall rate was 49 events per 100 admissions (range: 43–56). Patients who experienced adverse events were older and had higher mortality, greater hospital length-of-stay, and a higher case-mix index (a measure of the characteristics of patients treated based on resource use and intensity of care) than patients without an adverse event (Exhibit 2).
โดยรวมแล้ว เหตุการณ์เลวร้ายได้เกิดขึ้นกับคนไข้ในอัตรา 33.2 % ของจำนวนคนไข้ที่รับเข้ารักษาตัวภายในโรงพยาบาล (ช่วงตัวเลขอยู่ระหว่าง 29 – 36 %) หรือเท่ากับ 91 กรณีต่อคนไข้ 1000 คนที่รับเข้า (ช่วงตัวเลขอยู่ระหว่าง 89 -106 กรณี) คนไข้บางรายพบเหตุเลวร้ายมากกว่าหนึ่งกรณี หากเทียบเป็นจำนวนกรณีโดยรวมแล้วจะเท่ากับ 49 กรณีจากคนไข้ 100 รายที่รับเข้า (ช่วงตัวเลขอยู่ระหว่าง 43 – 56) คนไข้ที่ประสบเหตุเลวร้ายจะมีอายุมากกว่า อัตราการเสียชีวิตสูงกว่า ระยะเวลาพักรักษาก็จะยาวขึ้น และมีค่าดัชนีความซับซ้อนของอาการเจ็บป่วยสูงกว่า (เป็นมาตรวัดลักษณะเฉพาะของคนไข้ซึ่งอ้างอิงกับทรัพยากรที่ใช้ในการบำบัดและความเข้มข้นของการรักษา) เมื่อเทียบกันกับคนไข้ที่ไม่ได้ประสบกับเหตุเลวร้าย (ดูตารางที่ 2)
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [21 มิ.ย. 54 10:41] ( IP A:58.8.100.205 X: )
ความคิดเห็นที่ 12
   Exhibit 3 shows the breakdown of adverse events detected, by severity level and event type. Medications, surgery, procedures, and nosocomial (hospital-associated) infections were most common, and the most severe events were related to surgery or a procedure. Exhibit 4 shows the number of events detected by the three methods, by severity level. The same pattern in the severity level of events detected by the various
methods was also evident in the National Coordinating Council for Medication Error Reporting and Prevention Index for Categorizing Errors.
ตารางที่ 3 แสดงการแบ่งแยกลักษณะของเหตุเลวร้ายที่ตรวจพบ โดยแยกตามระดับความรุนแรง/วิกฤตของเหตุและชนิดของเหตุที่พบ คือ การให้ยา การผ่าตัด ขั้นตอนการรักษา และการติดเชื้อจากภายในโรงพยาบาล ซึ่งมักพบได้บ่อยที่สุด และเหตุที่รุนแรงมากที่สุดจะได้จากการผ่าตัดหรือจากขั้นตอนการรักษา ตารางที่ 4 แสดงจำนวนของเหตุเลวร้ายซึ่งตรวจพบโดยทั้งสามวิธีการโดยเทียบที่ระดับความรุนแรง เราพบว่ารูปแบบระดับความรุนแรงของเหตุที่ตรวจพบจากวิธีการที่หลากหลายนั้น ก็พบแบบเดียวกันอย่างเห็นได้ชัดในวิธีการคัดแยกหมวดหมู่ความผิดพลาดในระบบของ the National Coordinating Council for Medication Error Reporting and Prevention Index

As described above, we also conducted a detailed review at hospital A to evaluate the sensitivity of each method (the degree to which it accurately identified patients who had truly experienced adverse events) as well as each method’s specificity (the degree to which it accurately identified that patients had not experienced adverse events). Based on that review, we calculated that the Global Trigger Tool method had
a sensitivity to detect patients with at least one adverse event of 94.9 percent and a specificity to detect patients with no events of 100 percent. By contrast, the Patient Safety Indicators method had a sensitivity of 8.5 percent and a specificity of 98.5 percent. The Utah/Missouri classification had a sensitivity of 46.6 percent and specificity of 90.1 percent, and the local hospital’s voluntary reporting system had a sensitivity of 0 percent and a specificity of 100 percent (see the Appendix for a more detailed description). 22
ดังที่อธิบายไว้ด้านบนนี้ เรายังได้ทำการทบทวนในรายละเอียดภายในเวชระเบียนคนไข้จากโรงพยาบาล A เพื่อที่จะประเมินความไวในการตรวจจับของแต่ละวิธีการ (หมายถึงความแม่นยำมากน้อยเพียงใดในการบ่งชี้ตัวคนไข้ผู้ซึ่งเคยประสบเหตุเลวร้ายอย่างแท้จริง) รวมทั้งความเจาะจงเฉพาะของแต่ละวิธี (ความแม่นยำมากน้อยเพียงใดในการชี้ตัวคนไข้ซึ่งไม่ได้ประสบกับเหตุเลวร้าย) และเมื่ออิงกับการทบทวนนี้แล้วเราคำนวณพบว่าวิธี the Global Trigger Tool method นั้นมีความไวในการตรวจพบคนไข้ซึ่งประสบเหตุเลวร้ายอย่างน้อยที่สุดหนึ่งครั้งถึง 94.9% และมีความเจาะจงในการตรวจจับคนไข้ซึ่งไม่ประสบเหตุเลวร้ายเลยที่ 100% และด้วยความแตกต่างอย่างเด่นชัดวิธี the Patient Safety Indicators method จะมีความไวในการตรวจพบที่ 8.5% และมีความเจาะจงเฉพาะถึง 98.5% และวิธีของ The Utah/Missouri classification มีความไวที่ 46.6% และความเจาะจงเฉพาะที่ 90.1% สำหรับระบบการรายงานโดยสมัครใจของโรงพยาบาลในพื้นที่เองจะมีความไวอยู่ที่ 0% และความเจาะจงเฉพาะที่ 100% (ดูราละเอียดเพิ่มในเอกสารผนวก) 22
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [21 มิ.ย. 54 10:44] ( IP A:58.8.100.205 X: )
ความคิดเห็นที่ 13
    Discussion (ข้อถกเถียงในรายงานชิ้นนี้)

Voluntary, sentinel event, and “never event” reporting systems, including those mandated by states and other oversight bodies, continue to be the most common method used to detect and track adverse events in most US hospitals. Our study suggests that despite sizable investments and aggressive promotional efforts by local hospitals, these reporting systems fail to detect most adverse events.35–39 Our study adds further support to similar observations from the recent study by the HHS Office of Inspector General.20 Hospitals that use such methods alone to measure their overall performance on patient safety may be seriously misjudging actual performance. Policy makers who support this approach for public reporting also need to understand
its severe limitations.
ระบบรายงานโดยสมัครใจสำหรับเหตุการณ์ที่มีการเฝ้าระวังซึ่งรวมทั้งเหตุการณ์พวก “ต้องไม่เกิดขึ้น หรือ never event” ที่ได้รับการกำกับโดยมลรัฐและหน่วยงานที่ถูกมองข้ามอื่นๆยังคงเป็นวิธีการที่ใช้โดยทั่วไปอย่างต่อเนื่องในการตรวจจับและติดตาม เหตุการณ์เลวร้ายทั้งหลายภายในโรงพยาบาลส่วนใหญ่ของสหรัฐฯ จากรายงานของเราชี้ว่าทั้งๆที่มีการลงทุนขนาดใหญ่มากควบกับการรณรงค์อย่างกระตือรือร้นโดยโรงพยาบาลในท้องที่ ระบบเหล่านี้ก็ยังล้มเหลวในการตรวจพบเหตุการณ์เลวร้ายโดยส่วนใหญ่35–39 รายงานของเรายังชี้เพิ่มข้อสนับสนุนต่อไปว่า การเฝ้าสังเกตทำนองเดียวกันซึ่งรายงานไว้ในผลการศึกษาเมื่อไม่นานมานี้โดย the HHS Office of Inspector General.20 ระบุว่าโรงพยาบาลซึ่งใช้วิธีดังกล่าวมาเพียงโดดๆเพื่อสอบวัดสมรรถภาพโดยรวมของตนเองในเรื่องความปลอดภัยของคนไข้อาจกำลังประเมินสมรรถภาพของตนเองอย่างผิดพลาดเข้าขั้นวิกฤตทีเดียว และผู้กำหนดนโยบายซึ่งสนับสนุนวิธีการเช่นนี้เพื่อการรายงานต่อสาธารณชนจำเป็นต้องเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงข้อจำกัดของวิธีการเหล่านี้ (เพราะหากวันดีคืนดีเมื่อปรากฏข้อเท็จจริงขนาดใหญ่ที่คัดง้างกับรายงานที่มาจากการทำงานด้วยวิธีการเหล่านี้ ผู้กำหนดนโยบายเช่นนั้นเองจะต้องรับผิดชอบด้วยการสูญเสียความไว้วางใจจากมหาชนและอาจนำไปสู่การเสียหน้าที่การงานและการรับผิดตามกฎหมายมหาชนที่เกี่ยวข้องด้วย, ผู้แปล)

The Agency for Healthcare Research and Quality’s Patient Safety Indicators also missed most of the adverse events detected by the Institute for Healthcare Improvement’s Global Trigger Tool record review method. The Utah/Missouri Adverse Event Classification also showed low true positive rates, although it still performed better than the Patient Safety Indicators.14–16
ทางด้านวิธีของ The Agency for Healthcare Research and Quality’s Patient Safety Indicators ก็ยังพลาดการตรวจพบส่วนใหญ่ของเหตุการณ์เลวร้ายซึ่งตรวจพบจากการทบทวนเวชระเบียนคนไข้โดยวิธีการของ the Global Trigger Tool ทางด้านวิธีของ The Utah/Missouri Adverse Event Classification ก็แสดงอัตราการตรวจพบเชิงบวกที่แท้จริงที่ต่ำแม้ว่ายังคงทำงานได้ผลดีกว่าวิธีของ the Patient Safety Indicators.14–16

Based on the local analysis at hospital A, the Global Trigger Tool method had both high sensitivity and high specificity, the Patient Safety Indicators method had very low sensitivity and high specificity, and voluntary reporting systems seemed to be very insensitive. Neither voluntary reporting systems nor the Patient Safety Indicators
seemed to be better at detecting more severe events in this study, as has been reported in several other studies.
เมื่ออิงกับการวิเคราะห์จากในระดับหน่วยงานพื้นที่ ณ. โรงพยาบาล A วิธี the Global Trigger Tool มีทั้งความไวในการตรวจจับที่สูงและความเจาะจงเฉพาะเป้าหมายในการตรวจจับที่สูงด้วย ส่วนวิธี the Patient Safety Indicators มีความไวที่ต่ำมากและความเจาะจงเฉพาะที่สูง ขณะที่วิธีการรายงานด้วยความสมัครใจดูเหมือนจะเฉื่อยมากๆ อย่างไรก็ตามทั้งสองวิธีของการรายงานโดยสมัครใจและ the Patient Safety Indicators ต่างก็ดูเหมือนจะไม่ดีกว่าในการตรวจจับเหตุการณ์ที่เลวร้ายกว่าในรายงานชิ้นนี้ และเป็นเช่นเดียวกับที่ได้รายงานไว้ในการศึกษาวิจัยชิ้นอื่นๆอีกมาก
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [21 มิ.ย. 54 10:46] ( IP A:58.8.100.205 X: )
ความคิดเห็นที่ 14
   Although no accepted gold standard exists for the detection of adverse events in hospital patients, the method of local review at hospital A may be a proxy for a gold standard: It included not only the records of the inpatient admission of concern, but also all longitudinal health records and all other clinical, financial, and administrative records for each of the patients included in the study at hospital A.
ถึงแม่ว่าจะไม่ปรากฏมาตรฐานระดับทองซึ่งยอมรับได้ในการตรวจจับเหตุการณ์เลวร้ายสำหรับคนไข้ภายในของโรงพยาบาลก็ตาม วิธีการทบทวนโดยหน่วยงานในพื้นที่ ณ. โรงพยาบาล A อาจเป็นเสมือนตัวแทนโดยนัยของมาตรฐานเช่นว่านี้ มันเป็นวิธีซึ่งไม่เพียงรวบการรายงานของการรับคนไข้เข้าเป็นผู้ป่วยในเท่านั้น แต่ยังคลุมบรรดาเวชระเบียนทั้งหมดเรียงไปโดยลำดับและรวมทั้งบันทึกอื่นๆทั้งทางคลินิก, ทางการเงิน, ทางการบริหารของคนไข้แต่ละราย ซึ่งต่างก็ถูกบรรจุไว้ในการศึกษาวิจัยที่โรงพยาบาล A นี้ทั้งหมด

The Global Trigger Tool is a well-developed, well-documented, and publicly available approach to the detection of adverse events in hospital patients. Its use in hospitals has been increasing, but it could increase further with appropriate guidance from policy makers.
วิธี The Global Trigger Tool นี้ได้รับการพัฒนามาอย่างดี, ได้รับการจัดทำเป็นเอกสารอย่างเป็นกิจจะลักษณะ และมีพร้อมอยู่เพื่อสาธารณชนในการใช้เป็นวิธีเพื่อการตรวจจับเหตุการณ์เลวร้ายที่เกิดกับคนไข้ภายในของโรงพยาบาล เป็นวิธีที่กำลังใช้กันเพิ่มขึ้นเรื่อยในโรงพยาบาลหลายๆแห่ง และเราทั้งหลายสามารถเพิ่มการใช้มากยิ่งขึ้นด้วยการวางแนวทางที่เหมาะสมของผู้กำหนดนโยบายซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้

Although the tool’s approach is less resource-intensive than earlier record review approaches, the successful use of this tool still requires some resource commitments. However, review costs may decline, and the tool may become much more easily generalizable, if it can be successfully automated within commercial electronic
health record systems. A health system has recently accomplished such automation of this tool.40 The increasing adoption of electronic health records may make such adverse event detection tools more generally available, especially if policy makers incorporate the use of such tools into future meaningful-use criteria for record
adoption.
แม้ว่าวิธีการนี้เป็นแนวทางที่ใช้ทรัพยากรอย่างเข้มข้นน้อยกว่าแนวทางการทบทวนเวชระเบียนคนไข้ที่ทำไปก่อนหน้านี้ แต่การใช้วิธีการนี้ให้ได้ผลนั้นก็ยังจำเป็นต้องผูกมัดการใช้ทรัพยากรบ้างบางส่วน อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายในการทบทวนเช่นนี้อาจลดน้อยลงได้ และตัววิธีการเองก็อาจกลายไปเป็นระเบียบปฏิบัติซึ่งสามารถทำได้เป็นปรกติทั่วไปได้หากเราสามารถบรรลุผลสำเร็จในการทำให้ตัววิธีการเป็นขั้นตอนอัตโนมัติภายในระบบบันทึกเวชระเบียนทางอีเล็คทรอนิคส์เชิงการค้า ซึ่งปรากฏหน่วยบริการสุขภาพหนึ่งหน่วยได้บรรลุผลแล้วเมื่อไม่นานมานี้ในการทำให้วิธีการกลายเป็นขั้นตอนอัตโนมัติ40 การปรับใช้ระบบบันทึกเวชระเบียนอีเล็คทรอนิคส์ที่กำลังเพิ่มจำนวนขึ้นนี้ก็อาจทำให้เครื่องมือในการตรวจจับเหตุการณ์เลวร้ายเช่นนี้มีสภาพพร้อมให้เลือกใช้ได้เป็นการทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากผู้กำหนดนโยบายระบุให้การใช้เครื่องมือนี้เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของการใช้เกณฑ์พิจารณาอย่างมีความหมายสำหรับการแปลงเวชระเบียนเข้าสู่ระบบอีเล็คทรอนิคส์
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [21 มิ.ย. 54 10:48] ( IP A:58.8.100.205 X: )
ความคิดเห็นที่ 15
   A fully electronic hospital would facilitate the use of multiple parallel adverse event detection methods, including electronic health records, voluntary reporting, analysis of administrative coding (such as the Utah/Missouri classification, rather than the Patient Safety Indicators), and even the Medicare Patient Safety Monitoring
System,41 a new patient safety surveillance system. A demonstration project of such a hospital might be conducted through the new Center for Medicare and Medicaid Innovation and might help identify the true rate of harm in the US health care system.
สำหรับโรงพยาบาลที่ได้ชื่อว่าใช้ระบบการทำงานแบบอีเล็คทรอนิคส์อย่างเต็มรูปแบบนั้นจะสนับสนุนการใช้หลายวิธีการตรวจจับคู่ขนานกันไปตั้งแต่ การบันทึกเวชระเบียนด้วยอีเล็คทรอนิคส์, การรายงานโดยสมัครใจ, การวิเคราะห์การใช้รหัสรายงานเหตุทางการบริหาร (เช่น วิธีของ Utah/Missouri classification มากกว่าที่จะใช้ the Patient Safety Indicators) หรือแม้กระทั่งระบบ the Medicare Patient Safety Monitoring System,41 ซึ่งเป็นระบบใหม่ในการเฝ้าระวังเรื่องความปลอดภัยของคนไข้ และการมีโรงพยาบาลต้นแบบเพื่อการสาธิตสภาพนี้เราอาจดำเนินการได้โดยผ่านทาง the new Center for Medicare and Medicaid Innovation (ศูนย์นวัตกรรมทางการแพทย์) และอาจช่วยในการชี้ชัดถึงอัตราการการเกิดอันตรายที่แท้จริงภายในระบบดูแลสุขภาพของสหรัฐอเมริกานี้

Our study also detected far more adverse events in hospitalized patients than have been found in prior studies. Our detection levels were clearly higher than those of the Harvard Medical Practice Study, which reported inpatient adverse event rates of 3.9 percent and 2.7 percent, respectively, in New York and Utah/Colorado.17,33,35
Our detection levels were also higher than those of comparative studies of adverse events with other methods in hospitalized patients from England, Australia, and Canada.42–44
การศึกษาวิจัยของเราชิ้นนี้ยังได้ตรวจพบเหตุการณ์ซึ่งเลวร้ายกว่ามากในคนไข้ซึ่งพักรักษาตัวภายในโรงพยาบาลและมากกว่าที่เคยพบจากการศึกษาวิจัยที่ได้ทำกันไปก่อนหน้านี้ ระดับการตรวจพบของเรานั้นสูงกว่าอย่างขัดเจนเมื่อเทียบกับข้อมูลที่ได้จาก the Harvard Medical Practice Study ซึ่งรายงานอัตราการพบเหตุเลวร้ายที่ 3.9% ในเขต New York และ 2.7% ในเขต Utah/Colorado17,33,35 นอกจากนี้ก็ยังสูงกว่าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเปรียบเทียบการเกิดเหตุเลวร้ายจากวิธีการตรวจจับอื่นๆภายในโรงพยาบาลของอังกฤษ, ออสเตรเลียและคานาดา42–44

Part of this difference in incidence is definitional; our study used a broader definition of adverse events and did not require that these events either be judged preventable or lead to major disability, as in prior studies. In addition, the severity of illness in US hospital patients has risen since the Harvard Medical Practice Study (patient samples in 1984 and 1992), which may also account for some of the difference; however,
the Canadian study was much more recent.44
ส่วนหนึ่งของความแตกต่างที่พบนี้เป็นที่ชัดเจน กล่าวคือในการศึกษาของเรานั้นใช้นิยามของเหตุการณ์เลวร้ายที่คลุมกว้างกว่าและไม่ได้จำเป็นว่าเป็นเหตุซึ่งถูกชี้ว่าเป็นเรื่องป้องกันได้หรืออาจนำไปสู่ความพิการอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่? อย่างที่ทำกันไว้ในการศึกษาที่ทำกันก่อนหน้า นอกจากนี้ ระดับวิกฤตของการเจ็บป่วยของคนไข้ภายในโรงพยาบาลของสหรัฐอเมริกานั้นได้เพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ที่มีการศึกษาของ the Harvard Medical Practice Study ปรากฏออกมา (มีการสุ่มตัวอย่างคนไข้ระหว่างปี ค.ศ. 1984 – 1992) ซึ่งอาจมีส่วนเสริมให้เกิดความแตกต่างนี้ อย่างไรก็ตาม การศึกษาจากคานาดานั้นจะเป็นผลที่ปรากฏออกมาล่าสุด44

Nonetheless, despite more than a decade of focus on improving patient safety in the United States, the current rates of adverse events among inpatients at three leading hospitals are still quite high for 33.2 percent of hospital admissions for adults. That is more consistent with findings from a recent study in North Carolina hospitals7 and from the recent HHS study on Medicare patients.20 The true rates are likely to be higher still, given the consistent finding that direct observational studies reveal higher rates of adverse events than retrospective studies because not all adverse events are documented in the patient record.45
ที่ยิ่งกว่านั้น แม้ว่าจะผ่านเวลามามากกว่าทศวรรษของการมุ่งที่การปรับปรุงความปลอดภัยของคนไข้ในประเทศสหรัฐอเมริกาเรานี้ก็ตาม อัตราการเกิดเหตุเลวร้าย ณ. ปัจจุบันในท่ามกลางคนไข้ภายในของโรงพยาบาลชั้นนำสามแห่งก็ยังคงอยู่ค่อนข้างสูงสำหรับตัวเลข 33.2% ที่พบจากคนไข้วัยเจริญพันธุ์ที่รับเข้าเป็นคนไข้ภายในของโรงพยาบาล ซึ่งนี่ยังสอดคล้องมากยิ่งขึ้นเมื่อเทียบกับที่พบจากการศึกษาเมื่อเร็วๆนี้ในโรงพยาบาลของมลรัฐ Carolina hospitals7 และที่ได้จากการศึกษาของ HHS ในกลุ่มคนไข้ของโครงการ Medicare patients.20 และอัตราที่แท้จริงนั้นยังน่าจะสูงกว่านี้ด้วยซ้ำ เนื่องจากการค้นพบที่สอดรับกันตรงที่ เราพบจากการเฝ้าสังเกตโดยตรงนั้นเผยให้เห็นอัตราการเกิดเหตุการณ์เลวร้ายที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับการศึกษาจากการทบทวนเวชระเบียนย้อนจากหลังไปหน้า เนื่องจากความจริงที่ว่าไม่ทั้งหมดของเหตุเลวร้ายที่เกิดนั้นได้รับการบันทึกไว้เป็นกลักฐานในเวชระเบียนของคนไข้
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [21 มิ.ย. 54 10:50] ( IP A:58.8.100.205 X: )
ความคิดเห็นที่ 16
   Our findings indicate that two methods commonly used by most care delivery organizations and supported by policy makers to measure the safety of care—enhanced voluntary reporting systems and the use of the Agency for Healthcare
Research and Quality’s Patient Safety Indicators—fail to detect more than 90 percent
of the adverse events that occur among hospitalized patients. Reliance on such methods could produce misleading conclusions about safety in the US health care system and could misdirect patient safety improvement efforts.
การค้นพบของเราชี้ว่าวิธีการตรวจจับสองวิธีซึ่งใช้กันมากที่สุดโดยหน่วยงานส่วนใหญ่ในระบบดูแลสุขภาพซึ่งได้รับการหนุนส่งโดยผู้กำหนดนโยบายเพื่อสอบวัดความปลอดภัยของบริการ กล่าวคือ ระบบการรายงานโดยสมัครใจ (ฉบับปรับปรุงแล้ว) และระบบของ the Agency for Healthcare Research and Quality’s Patient Safety Indicators ทั้งสองนี้ต่างล้มเหลวในการตรวจจับมากกว่า 90% ของเหตุเลวร้ายที่เกิดขึ้นกับคนไข้ที่พักรักษาตัวภายในโรงพยาบาล การวางใจกับวิธีการเช่นว่านั้นอาจนำไปสู่การมีบทสรุปอย่างคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับความปลอดภัยของระบบดูแลสุขภาพของสหรัฐฯ และทำให้ทิศทางในการปรับปรุงความปลอดภัยของคนไข้ก้าวไปอย่างหลงทาง

Our results, in concert with other recent studies, suggest that despite almost ten years since the Institute of Medicine report on patient safety, rates of adverse events in hospital patients are still high.7,20 As policy makers struggle to measure improvements in patient safety, the results of our study should help inform ongoing efforts to evaluate methods for the detection of adverse events in hospital patients. Specifically, the results could influence the work of the Centers for Medicare and Medicaid Services and the Agency for Healthcare Research and Quality as they evaluate methods to detect patient safety problems in Medicare inpatients, as well as the ongoing work at the National Quality Forum to evaluate and develop new national measures of patient safety.
ผลการศึกษาของเราซึ่งสอดรับกับผลการศึกษาอีกหลายๆชิ้นเมื่อเร็วๆนี้ล้วนชี้ว่า แม้จะผ่านมาแล้วเกือบสิบปีตั้งแต่ปรากฏรายงานของ Institute of Medicine: To ERR is human ออกมาก็ตาม อัตราการเกิดเหตุเลวร้ายกับคนไข้ภายในของโรงพยาบาลก็ยังอยู่ในระดับสูง7,20 และขณะที่บรรดาผู้กำหนดนโยบายต่างดิ้นรนที่จะสอบวัดความคืบหน้าในเรื่องความปลอดภัยของคนไข้ ผลการศึกษาของเรานี้ก็ควรเป็นตัวช่วยให้ข้อมูลกับบรรดางานทั้งหลายที่กำลังเดินอยู่ในการประเมินวิธีการของการตรวจจับเหตุเลวร้ายที่เกิดกับคนไข้ภายในของโรงพยาบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลการศึกษาชิ้นนี้อาจมีอิทธิพลต่องานของ the Centers for Medicare and Medicaid Services และ the Agency for Healthcare Research and Quality เนื่องจากเป็นวิธีการประเมินเพื่อตรวจจับปัญหาด้านความปลอดภัยของคนไข้ภายในโครงการ Medicare รวมทั้งกับงานที่กำลังเดินไปของ National Quality Forum เพื่อประเมินและพัฒนามาตรการระดับชาติชิ้นใหม่ขึ้นมาสำหรับความปลอดภัยของคนไข้

Most important, US hospitals still have an opportunity to improve patient care by reducing care-associated adverse events or harm. Sound measurement helps establish priorities, generate ideas for improvement, and evaluate whether improvement efforts work. The tools presented in this study are a step forward in the overall patient safety effort.
เหนือสิ่งอื่นใด บรรดาโรงพยาบาลในสหรัฐฯก็ยังมีโอกาสที่จะทำการปรับปรุงเรื่องความปลอดภัยของคนไข้ได้โดยการลดทอนเหตุเลวร้ายหรืออันตรายที่พัวพันอยู่กับบริการทางการแพทย์ และการสอบวัดเรื่องนี้อย่างจริงจังจะช่วยกำหนดความสำคัญก่อนหลังและก่อให้เกิดแนวคิดสำหรับการปรับปรุงให้ดีขึ้น รวมทั้งช่วยประเมินว่างานปรับปรุงที่ทำไปนั้นสัมฤทธิ์ผลหรือไม่เพียงใดด้วย บรรดาวิธีการหลายวิธีซึ่งถูกใช้เป็นเครื่องมือและแสดงให้เห็นในการศึกษาวิจัยชิ้นนี้เป็นเพียงก้าวหนึ่งไปข้างหน้าของความพยายามในเรื่องการปรับปรุงโดยรวมเรื่องความปลอดภัยของคนไข้ภายใต้บริการทางสุขภาพ

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

ข้อความต่อจากนี้ เป็นหมายเหตุต่อท้ายรายงาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประเพณีปฏิบัติของการเสนอบทความทางวิชาการต่อสาธารณชนในสหรัฐฯ ที่ต้องมีการแสดงที่มาที่ไปของบทความ แหล่งข้อมูลและแหล่งอ้างอิงของบทความ ตลอจนพื้นหลังของผู้เขียนบทความแต่ละคน ทั้งนี้ เพื่อเป็นข้อมูลต่อสาธารณชนที่จะอ่านและรับรู้บทความนี้ ตลอดไปถึงการให้น้ำหนักความน่าเชื่อถือต่อบทความด้วย

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

This study was partially funded by the Institute for Healthcare Improvement, and all of the authors are affiliated with the institute in some fashion. In addition, David Classen is an employee of CSC Healthcare, a technology company, and Allan Frankel is an employee of Pascal Metrics Inc., a patient safety organization. Frances Griffin is an employee of BD

การศึกษาชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนเงินทุนส่วนหนึ่งโดย the Institute for Healthcare Improvement และบรรดาผู้เขียนรายงานชิ้นนี้ทั้งหมดต่างมีความเกี่ยวพันกับสถาบันนี้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง นอกจากนี้คุณหมอ David Classen ก็เป็นลูกจ้างรายหนึ่งของ CSC Healthcare ซึ่งเป็นหนึ่งในบริษัททางเทคโนโลยี่ด้วย ขณะที่ Allan Frankel มีฐานะเป็นลูกจ้างคนหนึ่งของ Pascal Metrics Inc หนึ่งในองค์กรด้านความปลอดภัยของคนไข้ และ Frances Griffin ก็เป็นลูกจ้าง
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง (เรื่องหมอ) [21 มิ.ย. 54 11:08] ( IP A:58.8.100.205 X: )
รายละเอียด :
ชื่อ / e-mail :    แทรกไอคอนน่ารักๆในข้อความ
e-mail :
ส่งอีเมลทุกครั้งที่มีการตอบกระทู้       (ใส่ Email เมื่อต้องการให้ส่ง Email เมื่อมีคนมาโพสในกระทู้)
รูปประกอบ :
.jpg .bmp .gif < 100K
จัดตำแหน่งรูป :
ชิดซ้าย
กึ่งกลาง
ชิดขวา
เสียงประกอบ : .wav .mp3 .wma .ogg < 300K
คลิปวีดีโอ (Youtube) :
ตัวอย่าง : http://www.youtube.com/watch?v=k_ufqno7NaE


CAPTCHA code



คลิกที่นี่เพื่อกลับหน้าบ้าน