เมืองไทย เน่าไปทุกที่ สภาทนายความไทยมัวทำอะไรอยู่
   https://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/8154497.stm

Tourists warned of Thailand airport scam

By Jonathan Head
BBC News, Bangkok

Bangkok's showcase new international airport is no stranger to controversy.

Built between 2002 and 2006, under the governments of then-Prime Minister Thaksin Shinawatra, the opening date was repeatedly delayed.

It has been dogged by allegations of corruption, as well as criticism of the design and poor quality of construction.

Then, at the end of last year, the airport was shut down for a week after being occupied by anti-government protesters.

Now new allegations have been made that a number of passengers are being detained every month in the duty free area on suspicion of shoplifting, and then held by the police until they pay large sums of money to buy their freedom.

That is what happened to Stephen Ingram and Xi Lin, two IT experts from Cambridge, as they were about to board their flight to London on the night of 25 April this year.

They had been browsing in the duty free shop at the airport, and were later approached by security guards, who twice asked to search their bags.


They were told a wallet had gone missing, and that Ms Lin had been seen on a security camera taking it out of the shop.

The company that owns the duty free shop, King Power, has since put the CCTV video on its website, which does appear to show her putting something in her bag. However the security guards found no wallet on either of them.

Despite that, they were both taken from the departure gate, back through immigration, and held in an airport police office. That is when their ordeal started to become frightening.

Interpreter

"We were questioned in separate rooms," Mr Ingram said. "We felt really intimidated. They went through our bags and demanded that we tell them where the wallet was."

The two were then put in what Mr Ingram describes as a "hot, humid, smelly cell with graffiti and blood on the walls".

Mr Ingram managed to phone a Foreign Office helpline he found in a travel guide, and was told someone in the Bangkok embassy would try to help them.

The next morning the two were given an interpreter, a Sri Lankan national called Tony, who works part-time for the police.

They were taken by Tony to meet the local police commander - but, says Mr Ingram, for three hours all they discussed was how much money they would have to pay to get out.


They were told the charge was very serious. If they did not pay, they would be transferred to the infamous Bangkok Hilton prison, and would have to wait two months for their case to be processed.

Mr Ingram says they wanted £7,500 ($12,250) - for that the police would try to get him back to the UK in time for his mother's funeral on 28 April.

But he could not arrange to get that much money transferred in time.

'Zig-zag' scheme

Tony then took them to an ATM machine at the police station, and told Ms Lin to withdraw as much as she could from her own account - £600 - and Mr Ingram then withdrew the equivalent of £3,400 from his account.

This was apparently handed over to the police as "bail", and they were both made to sign a number of papers.

Later they were allowed to move to a squalid hotel within the airport perimeter, but their passports were held and they were warned not to leave or try to contact a lawyer or their embassy.

"I will be watching you," Tony told them, adding that they would have to stay there until the £7,500 was transferred into Tony's account.

On the Monday they managed to sneak out and get a taxi to Bangkok, and met an official at the British Embassy.

She gave the name of a Thai lawyer, and, says Mr Ingram, told them they were being subjected to a classic Thai scam called the "zig-zag".

Their lawyer urged them to expose Tony - but also warned them that if they fought the case it could take months, and they risked a long prison sentence.

After five days the money was transferred to Tony's account, and they were allowed to leave.

Mr Ingram had missed his mother's funeral, but at least they were given a court document stating that there was insufficient evidence against them, and no charge.

"It was a harrowing, stressful experience," he said.

The couple say they now want to take legal action to recover their money.

'Typical' scam

The BBC has spoken to Tony and the regional police commander, Colonel Teeradej Phanuphan.

They both say Tony was merely helping the couple with translation, and raising bail to keep them out of prison.

Tony says about half the £7,500 was for bail, while the rest were "fees" for the bail, for his work, and for a lawyer he says he consulted on their behalf.

In theory, he says, they could try to get the bail portion refunded.

Colonel Teeradej says he will investigate any possible irregularities in their treatment. But he said any arrangement between the couple and Tony was a private affair, which did not involve the police.

Letters of complaint to the papers here in Thailand make it clear that passengers are regularly detained at the airport for alleged shoplifting, and then made to pay middlemen to win their freedom.

The Danish Embassy says one of its nationals was recently subjected to a very similar scam, and earlier this month an Irish scientist managed to flee Thailand with her husband and one year-old son after being arrested at the airport and accused of stealing an eyeliner worth around £17.

Tony told the BBC that so far this year he has "helped" about 150 foreigners in trouble with the police. He says sometimes he does it for no charge.

The British Embassy has also warned passengers at Bangkok Airport to take care not to move items around in the duty free shopping area before paying for them, as this could result in arrest and imprisonment.


Have you used Bangkok's main airport recently? Do you have any stories to tell about how you were treated there? Send us your comments:


A similar system operates in Cambodia. Police arrest foreigners in the street and you are contacted by someone who claims to have influence with the police and judges and who asks for large sums for your immediate release, which doesn't happen. I was even told at my friend's trial that the police would provide witnesses of my friend's offence if more money was not immediately provided. Even though there was no evidence against him and he was acquitted, a large sum had to be paid to the prison authorities for his release. John Smith, Doncaster, England

Two friends and I travelled to Bangkok 29 December 2008. We were really worried about the situation there, as the airport had just been closed for some time several weeks before. Aside being quite harassed by taxi drivers who wanted to take us to hotels they no doubt received commission from, the experience wasn't very trying at all. Connor, Chicago, IL, USA

Another scam at Bangkok Airport is when the Thai customs meet passengers off airplanes from Dubai/Qatar where there is cheap duty free. The customs tell passengers to put duty free items inside their check-in luggage when they take it off the carousel - or they will be prosecuted for smuggling. They then tell people that it will be OK not to show or declare any duty free items. When the passengers reach the arrivals area, the customs pounce and you are arrested and taken to customs head office at BANG NA and told to pay four times the duty or go straight to jail. There is an ATM machine next door to the customs office. Your goods are kept by the officers and they then pocket the money you have paid them and you are free to go without any criminal record. Paul Grant, London, UK

Same happened to me in April this year. The police arrested me and charged me approx £400. There were 5 of us in our group, we purchased 1000 cigarettes at Heathrow, but on leaving the plane at Bangkok the police approached me and told me to keep them in one bag. I did as I was told, and that was the set up, so when I got through customs with the other four people they arrested me and would not accept what we told them. They took copies of my passport and made me sign at least six documents, all in Thai. They would not give me copies so at this moment I don't know what I signed. They escorted me to an ATM. I have been in touch with the British consulate who asked me if I want to make a complaint but I don't want to go to another country and find they have done something to my passport. I will never return to Thailand again, it was the scariest time of my life. Lynn Ward, UK

Story from BBC NEWS:
https://news.bbc.co.uk/go/pr/fr/-/2/hi/asia-pacific/8154497.stm

Published: 2009/07/20 00:01:41 GMT



เตือนทัวริสต์ระวังแผน18มงกุฎที่'ร้านปลอดภาษี'สนามบินไทย
20 กรกฎาคม 2552 19:55 น.


บีบีซีนิวส์ - ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สนามนานาชาติแห่งใหม่ของกรุงเทพฯ ไม่เคยขาดเขินเรื่องราวที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งโต้เถียงกันเลย
สนามบินแห่งนี้ซึ่งดำเนินการก่อสร้างระหว่างปี 2002-2006 สมัยที่ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต้องเลื่อนกำหนดการเปิดให้บริการครั้งแล้วครั้งเล่า ท่ามกลางข่าวฉาวเรื่องทุจริตคอร์รัปชั่น รวมทั้งข้อวิจารณ์ต่างๆ นานาเกี่ยวกับการออกแบบและการก่อสร้างที่มีคุณภาพต่ำ
เวลานี้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิก็กำลังเจอข้อหาใหม่ๆ ที่ว่า ทุกๆ เดือนจะมีผู้โดยสารจำนวนหนึ่งถูกกักตัวที่บริเวณร้านค้าปลอดภาษี ด้วยข้อหาต้องสงสัยว่าขโมยของในร้าน หลังจากนั้นพวกเขาก็จะถูกตำรวจควบคุมตัวจนกว่าจะยอมเสียเงินก้อนโตเพื่อแลกกับอิสรภาพ
เรื่องดังกล่าวเกิดขึ้นกับสตีเฟน อินแกรม และซี หลิน 2 ผู้เชี่ยวชาญด้านไอทีจากเคมบริดจ์ ซึ่งกำลังรอขึ้นเครื่องบินเพื่อเดินทางไปที่ลอนดอนในช่วงคืนวันที่ 25 เมษายนปีนี้
ทั้งสองได้เดินชมสินค้าในร้านปลอดภาษีที่สนามบินแห่งนี้ และต่อมาก็มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยหลายคนเข้ามาหา โดยพูดจาอยู่สองครั้งเพื่อขอตรวจกระเป๋าของพวกเขา ทั้งคู่ได้รับคำบอกเล่าว่ามีกระเป๋าเงินใบหนึ่งของร้านหายไป และกล้องวงจรปิดจับภาพได้ว่าหลินเป็นคนหยิบเดินออกไปจากร้าน
หลังจากนั้น "คิงเพาเวอร์" บริษัทเจ้าของร้านปลอดภาษีแห่งนี้ ก็ได้นำภาพวิดีโอจากกล้องซีซีทีวีไปเผยแพร่ในเว็บไซต์ของตน ซึ่งเป็นภาพที่ดูเหมือนแสดงให้เห็นว่าเธอกำลังใส่อะไรบางอย่างเข้าไปในกระเป๋าของเธอ อย่างไรก็ตาม พวกเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยค้นไม่พบกระเป๋าเงินใดๆ จากบุคคลทั้งสอง
กระนั้นก็ตาม ทั้งสองก็ถูกนำตัวออกจากประตูผู้โดยสารขาออก แล้วย้อนกลับไปทางแผนกตรวจคนเข้าเมือง และในที่สุดก็ถูกควบคุมตัวที่สำนักงานตำรวจสนามบิน นั่นคือตอนที่การพิสูจน์ข้อเท็จจริงของพวกเขากลายเป็นเรื่องที่น่าหวาดกลัวขึ้นมา

**ล่าม**
"เราถูกสอบสวนโดยแยกกันคนละห้อง" อินแกรมเล่า "เรารู้สึกจริงๆ ว่านี่คือการขู่กรรโชก พวกเขาค้นกระเป๋าของเราและสั่งให้เราบอกว่ากระเป๋าเงินอยู่ที่ไหน"
จากนั้นคนทั้งสองก็ถูกส่งเข้าไปอยู่ในห้องขังที่อินแกรมบรรยายสภาพว่า "ร้อน ชื้น มีกลิ่นเหม็น และบนกำแพงก็มีภาพขีดเขียนและมีรอยเลือดด้วย"
อินแกรมพยายามติดต่อโทรศัพท์ไปยังสายด่วนของกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษ ซึ่งเขาพบในหนังสือคู่มือเดินทาง และได้รับคำตอบว่าจะมีคนจากสถานทูตประจำกรุงเทพฯมาช่วยเหลือ
เช้าวันรุ่งขึ้นทั้งสองก็ได้พบกับล่ามชาวศรีลังกาชื่อ "โทนี" ซึ่งบอกว่าทำงานพาร์ตไทม์ให้กับตำรวจ โทนีได้พาทั้งสองไปพบกับผู้บังคับบัญชาตำรวจท้องถิ่น แต่ ตลอดเวลา 3 ชั่วโมง พวกเขาพูดกันแต่เรื่องจำนวนเงินที่ต้องจ่ายเพื่อให้พ้นจากคุก
ทั้งสองได้รับแจ้งว่าข้อกล่าวหานั้นรุนแรงมาก หากไม่ยอมจ่ายเงิน ทั้งคู่จะต้องถูกย้ายไปขังคุกที่ขึ้นชื่อเรื่องความโหด และต้องรอกันถึง 2 เดือนระหว่างดำเนินกระบวนการทางคดี
อินแกรมกล่าวว่าพวกเขาถูกเรียกเงิน 7,500 ปอนด์ (ประมาณ 423,750 บาท) เพื่อให้ตำรวจดำเนินเรื่องให้เขาสามารถเดินทางกลับอังกฤษได้ทันงานศพของมารดาในวันที่ 28 เมษายน แต่เขาไม่สามารถหาเงินจำนวนดังกล่าวให้ได้ทันเวลา

**แผนหลอกลวงแบบซิกแซ็ก**
จากนั้นโทนีพาทั้งสองไปที่ตู้เอทีเอ็มในสถานีตำรวจ หลินถอนเงินในบัญชีของเธอได้เพียง 600 ปอนด์ ส่วนอินแกรมมี 3,400 ปอนด์ เงินทั้งหมดถูกส่งให้กับตำรวจโดยถือเป็น "เงินค่าประกันตัว" แล้วทั้งสองก็ถูกชี้ให้เซ็นเอกสารจำนวนหนึ่ง
ต่อมาทั้งคู่ได้รับอนุญาตให้ไปพักในโรงแรมชั้นเลวแห่งหนึ่งภายในเขตสนามบิน ทั้งสองถูกยึดหนังสือเดินทาง และได้รับคำเตือนไม่ให้หลบหนีหรือพยายามติดต่อทนายหรือสถานทูตของตน
"ผมจะคอยเฝ้าพวกคุณอยู่" โทนีบอกและว่าพวกเขาจะต้องอยู่ที่นี่จนกว่าจะมีเงินโอนเข้าบัญชีของโทนีครบ 7,500 ปอนด์
ในวันจันทร์ทั้งสองสามารถหลบหนีขึ้นแท็กซี่เข้ากรุงเทพฯ และพบเจ้าหน้าที่ของสถานทูตอังกฤษ ซึ่งช่วยจัดหาทนายคนไทยให้ และยังบอกว่าทั้งสองตกเป็นเหยื่อกลโกงคลาสสิกของไทยที่เรียกว่า "ซิกแซ็ก"
ทนายของพวกเขาแนะให้เปิดโปงแฉโพยโทนี แต่ก็เตือนพวกเขาด้วยว่าหากพวกเขาต่อสู้คดีก็อาจใช้เวลาหลายเดือน และเสี่ยงที่จะถูกลงโทษติดคุกนาน
หลังจากนั้นห้าวัน พวกเขาก็โอนเงินเข้าบัญชีของโทนีครบจำนวนและได้รับอนุญาตให้เดินทางกลับอังกฤษ
แม้ว่าอินแกรมจะไปไม่ทันงานศพคุณแม่ของเขา แต่อย่างน้อยทั้งสองก็ได้รับเอกสารยืนยันจากศาลว่าพวกเขาไม่ถูกต้องข้อหา เนื่องจากไม่มีหลักฐาน
"มันเป็นประสบการณ์ที่น่ากลัวและเครียดมาก" เขาเล่า และมาถึงตอนนี้ทั้งสองก็ต้องการดำเนินการทางกฎหมายเพื่อเรียกเงินคืน

**กลโกงแบบ"พื้นๆ"**
โจนาธาน เฮด ผู้สื่อข่าวบีบีซีที่รายงานเรื่องนี้บอกว่า ได้คุยกับโทนีและ พ.ต.อ.ธีรเดช ภาณุพัน (Colonel Teeradej Phanuphan) ผู้บังคับบัญชาตำรวจในเขตนั้น ซึ่งเล่าว่าโทนีเพียงแต่ช่วยในเรื่องการแปล และได้เรียกเงินประกันเพื่อช่วยคนทั้งสองให้ออกจากคุก
โทนีบอกอีกว่าราวครึ่งหนึ่งของเงิน 7,500 ปอนด์เป็นค่าประกันตัว ส่วนที่เหลือเป็น "ค่าธรรมเนียม" สำหรับการประกันตัว และค่าทำงานของเขา รวมทั้งค่าทนาย ซึ่งเขาบอกว่าเขาต้องปรึกษาหารือเพื่อช่วยเหลือคนทั้งสอง
พ.ต.อ.ธีรเดชกล่าวว่าจะสอบสวนหาข้อพิรุธในกรณีดังกล่าว ทว่า การตกลงระหว่างคนทั้งสองกับโทนีเป็นเรื่องส่วนตัวที่ไม่เกี่ยวข้องกับทางตำรวจแต่อย่างใด
จากจดหมายร้องเรียนจำนวนหนึ่งที่ส่งไปถึงหนังสือพิมพ์ในประเทศไทย ทำให้เป็นที่ชัดเจนว่ามีผู้โดยสารถูกกักตัวที่สนามบินด้วยข้อกล่าวหาว่าขโมยของอยู่เสมอ และจะต้องจ่ายเงินให้กับคนกลางเพื่อแลกกับอิสรภาพ้

สถานเอกอัครราชทูตเดนมาร์กแถลงว่า เมื่อเร็วๆ นี้ชาวเดนมาร์กคนหนึ่งก็ตกเป็นเหยื่อกลโกงแบบเดียวกันนี้ และเมื่อต้นเดือนที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ชาวไอริชคนหนึ่งหลบหนีออกจากประเทศไทยไปได้พร้อมกับสามีและบุตรชายวัยหนึ่งขวบ หลังจากที่ถูกกล่าวหาว่าขโมยที่เขียนขอบตาราคาราว 17 ปอนด์
โทนีบอกกับบีบีซีว่าในช่วงปีนี้เขาได้ "ช่วยเหลือ" ชาวต่างประเทศราว 150 คนที่มีปัญหากับตำรวจ และบางครั้งเขายังช่วยเหลือโดยไม่คิดเงินด้วยซ้ำไป ส่วนสถานทูตอังกฤษได้เตือนผู้โดยสารที่สนามบินในกรุงเทพฯ ให้ระมัดระวังและอย่าโยกย้ายสินค้าในร้านปลอดภาษีหากไม่คิดจะซื้อ เพราะอาจถูกจับกุมและมีโทษถึงจำคุก




คิงเพาเวอร์โชว์หลักฐานมัดนักท่องเที่ยวต่างชาติขโมยของดิวตี้ฟรี
21 กรกฎาคม 2552 11:53 น.


นายจุลจิต บุญเกตุ รองประธานกรรมการ กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ กล่าวถึงกรณีที่สำนักข่าว บีบีซี เสนอรายงานพิเศษ โจมตีร้านค้าปลอดภาษี หรือ ดิวตี้ฟรี ที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ว่า มีนักท่องเที่ยวจำนวนมากถูกจับ ฐานต้องสงสัยว่าขโมยของภายในร้านดิวตี้ฟรี และต้องจ่ายเงินค่าปรับจำนวนมาก เพื่อแลกกับการไม่ให้ถูกกักตัวและถูกดำเนินคดีในประเทศไทย โดยเฉพาะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับ นายสตีเฟน อินแกรม และนางซี หลิน 2 ผู้เชี่ยวชาญด้านไอที ที่เดินทางมาจากลอนดอน เมื่อวันที่ 25 เมษายน ที่ผ่านมา ว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมีหลักฐานมัดตัวนักท่องเที่ยวชัดเจน โดยทางบริษัทนำภาพจากกล้องวงจรปิดที่สามารถบันทึกไว้ได้ ไปลงในเว็บไซต์ของบริษัท เพื่อให้นักท่องเที่ยวและผู้สงสัยกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเข้าไปตรวจสอบความจริง
ทั้งนี้ บริษัท คิง เพาเวอร์ เตรียมส่งเอกสารชี้แจงไปยังสถานทูตอังกฤษ ประจำประเทศไทย และล่ามที่เข้ามาช่วยไกล่เกลี่ยกรณีนี้ด้วย เพื่อให้ช่วยชี้แจงกับนักท่องเที่ยวให้เข้าใจ
ส่วนกรณีที่มีการร้องเรียนว่า นักท่องเที่ยวจ่ายสินบนเจ้าหน้าที่เป็นเงินกว่า 4 แสนบาท เพื่อให้ปล่อยตัวนั้น จากการตรวจสอบข้อเท็จจริงของ สภ.ราชาเทวะ พบว่า ตำรวจให้ประกันตัวผู้ต้องหาทั้งสองจริง โดยมีนายโทนี่ รัจนายากา (***) ชาวศรีลังกา เป็นล่าม และหานายประกันคือ นายสุพจน์ พูนเกษม โดยใช้เงินนายโทนี่ จำนวน 2 แสนบาท ประกันตัวผู้ต้องหาทั้ง 2 คน ก่อนที่นายโทนี่จะนำผู้ต้องหาไปพักที่หอพักวาเลนไทน์ โดยทั้งสองสามารถเข้า-ออกห้องพักได้อย่างอิสระ และการตรวจสอบไม่พบร่องรอยการกักขังหน่วงเหนี่ยวแต่อย่างใด
โดยคณะทำงานเรียก นายโทนี่ มาสอบสวน พร้อมนำหลักฐานการโอนเงินของผู้ต้องหาเข้าบัญชีหลายครั้ง รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 339,645 บาท ซึ่งเขาบอกว่า เป็นค่าดำเนินการที่ตกลงกันไว้ และวันที่ 30 เมษายน พนักงานสอบสวนยังมีคำสั่งไม่ฟ้องผู้ต้องหา เนื่องจากหลักฐานไม่เพียงพอ และการตรวจสอบได้ข้อสรุปว่า การเสนอข่าวดังกล่าวนี้ ไม่เป็นความจริง และทำให้ภาพลักษณ์ของประเทศเสียหาย
โดย: อ่านแล้วเซ็ง เสียชื่อเมืองไทย [21 ก.ค. 52 14:29] ( IP A:58.8.12.70 X: )
Add to Facebook  Add to Twitter  Add to Multiply  Add to Google  Add to Blogger  Add to Live
ความคิดเห็นที่ 1
   จับผิดง่ายๆ
ถ้าดำเนินคดีจริง ต้องตั้งข้อหา และให้เขาเจอทนายความ
และการปล่อยเขาออกจากประเทศโดยการประกันนั้นทำได้อย่างไร
มีการตั้งข้อหาและประกันตัวจริงหรือไม่
การนำเขาออกจากห้องขังไปกดเงินนี่เป็นการรีดเงินชัดๆ ตำรวจพาไปหรือล่ามพาไป
ผมว่าทั้งทนายความ ล่าม ตำรวจ เคลืยร์ตัวเองไม่ได้หรอก
โดยเฉพาะแขก ได้เงินค่าบริการมากมายอะไรขนาดนั้น
แล้วมึงเสียภาษีหรือเปล่า เป็นต่างชาติทำงานได้ในเมืองไทยหรือ
ใครใช้มันเป็นล่าม ตำรวจจ้างหรือยังไง
งานนี้คิงเพาเวอร์ต้องรับผิดชอบด้วย ใครเป็นคนไปแจ้งความ คิงเพาเว่อรต้องแจ้งความเอง และคนขายของตั้งเยอะให้เขาขโมยของได้ยังไง คนซื้อมันจะมากแค่ไหนเชียว ไม่ใช่ตลาดนัด
โดย: ฟฟ [21 ก.ค. 52 14:35] ( IP A:58.8.12.70 X: )
ความคิดเห็นที่ 2
   สอนให้จับผิดคน
จับผิดกรณีต่างๆก็ใช้หลักเดียวกัน
โดย: ฟฟ [21 ก.ค. 52 14:36] ( IP A:58.8.12.70 X: )
ความคิดเห็นที่ 3
   งามหน้า "คนไทยทั้งประเทศ" อีกครั้งล่ะคราวนี้

นอกจากข่าวความเป็นมาในการคอร์รัปชั่นกันอย่างมโหฬารกับงานก่อสร้างสนามบินแล้ว

ข่าวนี้เท่ากับตกย้ำคำพูดของท่าน อดีตประธาน ค.ม.ช. พล.อ. สนธิ บุญรัตกลินที่ว่า

คนไทยขี้โกง + ขี้โอ่ + ขี้อิจฉา + ขี้เกียจ

เฮ้อ อนาถประเทศไทยเจงๆ
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง [22 ก.ค. 52 8:10] ( IP A:58.8.101.220 X: )
ความคิดเห็นที่ 4
   https://www.WAF1014-FT8010-WATCH.INFO/
https://www.CJF2111-BA0594-WATCH.INFO/
https://www.WAV5113-FC6231-WATCH.INFO/
https://www.WAW1313FC6247-WATCH.INFO/
https://www.WL1312-BA0709-WATCH.INFO/
https://www.WAV5113-BA0901-WATCH.INFO/
https://www.WAF1450-BB0825-WATCH.INFO/
https://www.CJF7112-BA0596-WATCH.INFO/
https://www.WV2410-BA0793-WATCH.INFO/
https://www.WJF2011-BA0592-WATCH.INFO/
https://www.CAG2010FT6013-WATCH.INFO/
https://www.WAF1350-BB0820-WATCH.INFO/
https://www.CAF2011-FT8011-WATCH.INFO/
https://www.CAG2011BA0254-WATCH.INFO/
https://www.CAF101A-BA0821-WATCH.INFO/
https://www.WJ1114-BA0570-WATCH.INFO/
https://www.CJF2115-BA0576-WATCH.INFO/
https://www.WV3010-EB0025-WATCH.INFO/
https://www.CV2013BA0794-WATCH.INFO/
https://www.WAC1215-FC6219-WATCH.INFO/
https://www.CAF2014-BA0815-WATCH.INFO/
https://www.CAF2120-BB0816-WATCH.INFO/
https://www.CAV511E-BA0902-WATCH.INFO/
https://www.WAF1117BA0810-WATCH.INFO/
https://www.WJ1117-BA0575-WATCH.INFO/
https://www.WV211NBA0787-WATCH.INFO/
https://www.CAM2111-FC6259-WATCH.INFO/
https://www.WAW1310FC6216-WATCH.INFO/
https://www.CAF7113FT8010-WATCH.INFO/
https://www.WAF1124-BB0807-WATCH.INFO/
โดย: mob [25 มิ.ย. 54 7:27] ( IP A:110.164.241.208 X: )
ความคิดเห็นที่ 5
   https://www.WAH1113-T6025-WATCH.INFO/
https://www.CAM2110FC6258-WATCH.INFO/
https://www.CAW2114FT6021-WATCH.INFO/
https://www.CV2116-FC6180-WATCH.INFO/
https://www.CJF1314-BA0580-WATCH.INFO/
https://www.CAF101B-FT8011-WATCH.INFO/
https://www.WAF141H-BA0824-WATCH.INFO/
https://www.CAV511C-BA0904-WATCH.INFO/
https://www.WAV515B-BD0903-WATCH.INFO/
https://www.CAF1011-BA0821-WATCH.INFO/
https://www.CV2A11-BA0796-WATCH.INFO/
https://www.WV1415-BA0793-WATCH.INFO/
https://www.WAJ1111-BA0871-WATCH.INFO/
https://www.WAF1451BB0825-WATCH.INFO/
https://www.WJ201D-BA0591-WATCH.INFO/
https://www.WAF2011-FT8010-WATCH.INFO/
https://www.WAF111D-BA0810-WATCH.INFO/
https://www.WV2116-FC6181-WATCH.INFO/
https://www.WAF1010-FT8010-WATCH.INFO/
https://www.WJF1353-BB0581-WATCH.INFO/
https://www.WAH1110FT6024-WATCH.INFO/
https://www.WV2413-BA0793-WATCH.INFO/
https://www.WAJ2111-FT6015-WATCH.INFO/
https://www.WAV515A-BD0903-WATCH.INFO/
https://www.WAJ2150-BA0870-WATCH.INFO/
https://www.WW2114-FC6215-WATCH.INFO/
https://www.CAH1012FT6026-WATCH.INFO/
https://www.WJF131A-BA0572-WATCH.INFO/
https://www.CV2013-BA0786-WATCH.INFO/
https://www.CAF101C-BA0821-WATCH.INFO/
โดย: nooms [25 มิ.ย. 54 7:28] ( IP A:110.164.241.208 X: )
ความคิดเห็นที่ 6
   https://www.WJ1314-BA0573-WATCH.INFO/
https://www.T36131672-WATCH.INFO/
https://www.WAF1419-BA0824-WATCH.INFO/
https://www.WJF131G-BA0572-WATCH.INFO/
https://www.CW2111-FC6171-WATCH.INFO/
https://www.CAH101ABA0860-WATCH.INFO/
https://www.WV2115-BA0787-WATCH.INFO/
https://www.WV211N-BA0787-WATCH.INFO/
https://www.WL1311-BA0708-WATCH.INFO/
https://www.WAF141B-BA0824-WATCH.INFO/
https://www.CAF7011-FT8011-WATCH.INFO/
https://www.CAJ2110-BA0872-WATCH.INFO/
https://www.WL111E-BA0700-WATCH.INFO/
https://www.WV1450-BD0797-WATCH.INFO/
https://www.WV1413-BA0793-WATCH.INFO/
https://www.WN2311-BA0360-WATCH.INFO/
https://www.96-0529-4035-51-M-WATCH.INFO/
https://www.WAJ2115-BA0871-WATCH.INFO/
https://www.WAC1111-BA0850-WATCH.INFO/
https://www.WJC201C-BA0591-WATCH.INFO/
https://www.WAH1215-BA0861-WATCH.INFO/
https://www.WAV5112-FC6231-WATCH.INFO/
https://www.CAV511GBA0905-WATCH.INFO/
โดย: wongwan [25 มิ.ย. 54 7:28] ( IP A:110.164.241.208 X: )
คลิก เพื่อเปลี่ยนกลับไปแสดงความคิดเห็นแบบเดิม

ชื่อไฟล์รูปห้ามมีอักขระพิเศษ เช่น (#),(<),(>),(&) เป็นต้นค่ะ
ชื่อ / e-mail :    แทรกไอคอนน่ารักๆในข้อความ
e-mail :
ส่งอีเมลทุกครั้งที่มีการตอบกระทู้       (ใส่ Email เมื่อต้องการให้ส่ง Email เมื่อมีคนมาโพสในกระทู้)


CAPTCHA code



คลิกที่นี่เพื่อกลับหน้าบ้าน