มีมูลหรือไม่มีมูลดูกันเอาเอง
|
ความคิดเห็นที่ 1 แบบนี้ต้องต่อด้วย ม 157 | โดย: เยื่อแพทยสภา [30 พ.ย. 52 10:01] ( IP A:61.7.240.130 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 2 วิเคราะห์ 1.ศาลสูงเห็นฟ้องด้วยในผล คือเห็นว่าควรถอนมติตามศาลชั้นต้น แต่เหตุผลที่ถอนนั้นคนละเหตุผลกัน 2.กฎหมายและกฎระเบียบที่ออกมาก่อนหน้าตามหลักวิชา ถ้าได้ยึดถือปฏิบัติ ปัญหาก็จะน้อย เช่น ต้องเย็บแผลไม่สาหัส ต้องมีแพทย์ควบคุมดูแล อยู่เวรไม่ดูแลนัดมาพรุ่งนี้ก็ได้ทำแผลสะอาดปิดผ้าไว้ แผลเปิดไม่ค่อยมีปัญหา แผลเย็บมีปัญหามากกว่า 3. ผมว่าแผลนิ้วมือเย็บยาก อะไรที่ยาวๆเล็กๆนี่ รักษายาก ชิ้นโตๆอ้วนๆรักษาง่ายกว่า ดังนั้น ควรสอนว่าแผลที่ผ่ามือ นิ้วมือ ให้รอหมอ แผลที่คอ ก็ควรรอ แผลบนหน้าทั้งหมดยกเว้นหนังศีรษะและหน้าผาก ต้องรอ ฯลฯ 4. การตัดสินให้หมอรับผิด แม้จะเจ็บปวด แต่จะทำให้หมอและพยาบาลระมัดระวังมากขึ้น แม้จะต้องเหนื่อยมากขึ้น แต่ก็ควรทำเพื่อผลประโยชน์ของลูกหลาน พ่อแม่พี่น้องชาวไทย ดังนั้นคดีนี้แพทยสภาอาจจะต้องนำคำพิพากษาไปตรึกตรอง ว่าที่ศาลสูงท่านตัดสินมานั้น สมเหตุสมผลควรรับฟังและพิจารณาปฏิบัติตาม มากกว่าที่จะยกการร้องเรียน ก็เห็นใจทั้งสองฝ่าย แต่ผมเชื่อว่าในวงการศาลปกครอง มีนักวิชาการมืออาชีพพวกหนึ่ง เข้าใจหลักกฎหมายการปกครองประเทศและเห็นว่าต้องมีการตรวจสอบลงโทษ จึงตัดสินออกมาได้น่าเคารพเลื่อมใสใสสายตาประชาชน พวกนักวิชาการมืออาชีพเหล่านี้เชื่อได้เลยว่าเขาไม่เข้าข้างใครแต่จะรอบคอบถี่ถ้วนประสบการณ์มาก หลุดรอดสายตายาก คดีไหนถ้าถึงมือท่านเหล่านี้ รับรองได้ว่า ความยุติธรรมมีให้เห็นแน่ ทั้งแพทย์และเครือข่าย ปัญหาการทะเลาะก็จะจบลงพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย สังคมก็จะอยู่เย็นเป็นสุข | โดย: คำพิพากษาคือบทเรียนที่มีประโยชน์มากกว่าตำรากฎหมาย [30 พ.ย. 52 19:31] ( IP A:58.8.212.218 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 3 นิ้วอื่นเละ แต่นิ้วนี้ไม่เละ
| โดย: สวรรคมีตาตามที่คนเขาว่า ศาลสุดท้ายแล้ว [30 พ.ย. 52 19:35] ( IP A:58.8.212.218 X: ) |  |
|