สหรัฐหันมาเปิดคลินิก
   https://news.yahoo.com/s/time/20090901/hl_time/08599191975400
โดย: บ้านเราบ้าเปิดโรงพยาบาล [2 ก.ย. 52] ( IP A:58.8.16.227 X: )
Add to Facebook  Add to Twitter  Add to Multiply  Add to Google  Add to Blogger  Add to Live
ความคิดเห็นที่ 1
   Those, at least, are the arguments, though it was impossible to know how well-founded they were - until now. In twin studies published this week in the Annals of Internal Medicine, the Rand Corp. reports on an extensive survey of cost, quality and availability of retail health operations, and on nearly all measures, the clinics scored high.


The studies, which took months to compile, were based on the performance of the 982 retail clinics that existed in the U.S. as of August 2008 - a tenfold increase since 2006. While that proliferation is impressive, as with much else in the health-care system it doesn't necessarily mean equal access to care. Clinics exist in only 33 states, and in those that have them, an overwhelming 88.4% are in urban areas. Just 10.6% of the U.S. population lives within a five-minute drive of a clinic, and 28.7% lives 10 minutes away. The South is better served than the Midwest and West, and all three regions are better served than the East. Just five states (Florida, California, Texas, Minnesota and Illinois) are home to 44% of all American retail health clinics.


But perhaps the more relevant question is, How good is the care at these stop-and-shop operations? To

answer that, the Rand investigators focused on just one state, Minnesota, because clinics are well-established there and because one large health plan has been providing clinic coverage for its members for five years, meaning that there was a rich vein of data to mine. The investigators focused on data on 2,100 patients who had gone to a clinic for one of three common complaints: sore throat, urinary tract infection and earache. These were compared to patients who had visited doctors' offices, urgent-care facilities and emergency rooms for the same ailments. The investigators judged quality of care by 14 different measures, including what kinds of tests were ordered, what drugs were prescribed and whether follow-up visits were scheduled. (Read "This Doctor Does Not Want To See You.")


If the results are any indication, the next time you have a routine medical need, you should probably make haste to a clinic. On a quality scale of 0% to 100%, the clinics finished first with a 63.6% while urgent-care centers and doctor's offices followed within a couple of points. Habitually overcrowded emergency rooms came in last at a distant 55.1%. When it came to fees, the results were even more dramatic. For the various kinds of services studied, the average visit to a retail clinic cost $110, versus $156 for urgent care and $166 for a family doc. As for ERs? A cool $570. While even $110 for a clinic visit seems pricey, that is only the average for the three procedures studied. Minute Clinic, the industry leader with 514 outlets, charges just $62 for a minor illness or injury exam and $20 to $66 for a wellness or prevention visit.


Average cost per lab test in the Rand study also differed significantly depending on the provider: $15 at retail clinics, $27 at urgent-care facilities, $33 at doctors' offices and a whopping $113 at the ER. The study did not bear out the fear that retail clinics would be inclined to overprescribe drugs, and when the clinics did write a prescription, the out-of-pocket cost was lower: $21 compared to a high of $26 for ERs.


"These findings provide more evidence that retail clinics are an innovative way of delivering health care," says Dr. Ateev Mehrotra, a professor at the University of Pittsburgh Medical School and the lead author of the study. "Retail clinics are more convenient for patients, less costly and provide care that is of equal quality."
โดย: เขาว่าคลินิกถูกกว่าดีกว่า [2 ก.ย. 52] ( IP A:58.8.16.227 X: )
ความคิดเห็นที่ 2
   บ้านเราโรงพยาบาลมันโฆษณาจนชาวบ้านคิดว่าดีกว่าคลินิก คลินิกก็เลยเจ๊งเป็นแถวๆ
หมอปิดคลินิกเข้าหุ้นเปิดโรงพยาบาลโกยเงิน สร้างตึกโตๆ ถือหุ้นโรงพยาบาล กินไปชั่วลูกหลาน
ตัดไข่โรงพยาบาล 5 หมื่นถึง แสนสอง
ตัดไข่คลินิก 5 พัน
งัดจมูกหักโรงพยาบาล 8 หมื่น ค่าห้องและค่าใช้จ่ายดมยาต่างหาก
งัดจมูกหักที่คลินก 5000 ทำแล้วกลับได้เลย
มันชอบโฆษณาว่าโรงพยาบาลสะอาดปลอดภัย ไม่ติดเชื้อ
(เท่ากับด่าทางอ้อมว่า คลินิกสกปรก อันตราย ติดเชื้อ)
หารู้ไม่ว่าเขามีโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ที่เป็นปัญหาทุกวันนี้
ไม่มีโรคติดเชื้อในคลินิก
เป็นหวัดทอนซิลอักเสบที่คลินิก จ่าย 300 ก็หรูแล้ว
อยู่โรงพยาบาลคืนเดียว หมดไป 18000 (เพื่อนผมด่าชิบหาย)
โดย: บ้านเรามันบ้า [2 ก.ย. 52] ( IP A:58.8.16.227 X: )
ความคิดเห็นที่ 3
   หมายถึงโพลีคลินิคแถวๆ ประตูน้ำด้วยเปล่า
โดย: งงเหมือนกัน [2 ก.ย. 52 21:55] ( IP A:222.123.231.135 X: )
ความคิดเห็นที่ 4
   คห ที่ ๓ เนี่ย

แกล้ง "ปัญญานิ่ม" หรือเปล่า???

แถวประตูน้ำน่ะ มีโพลี่คลินคอยู่แค่ ๒ แห่ง ชื่อคล้ายกัน แต่ไม่เกี่ยวกัน

ไม่ลองนึกดูทีหรือ ว่า เครือ "วุฒิศักดิ์คลินิค" กับ เครือคลินิค "คู่กรณีของคุณรวิวรรณ" น่ะ ป่านนี้ปาเข้าไป "กี่สาขา????" แล้ว

ตอนนี้เท่าที่เห็นนะ ก็มีแต่คลินิคเสริมความงาม แล้วก็คลินิคที่เป็น "สาขาย่อย" ของโรงพยาบาลเอกชนเครือใหญ่ๆ เท่านั้น ที่เริ่มขยายกระจายไปตามชานเมือง/หัวเมือง

คลินิคแถวบ้านผมแห่งหนึ่ง เปิดมากว่า 20 ปี แล้ว ก็ไม่เห็นหมอเจ้าของคลินิคแกอยากเปิดสาขา เคยเห็นแกบ่นว่า คนไข้ก็อยากให้แกขยายสาขา แต่แกไม่เอา เพราะ "หาหมอ" มาประจำทำงานสม่ำเสมอไม่ได้

ยิ่งบ้านเรา กี่ปี กี่สิบปี ก็ผลิตหมอไม่ทันป้อนการเติบโตของจำนวนพลเมืองซักกะที แต่ "เมดิคอลฮับสามาน" เนี่ย กลับโตวันโตคืนดูดเงินคนไข้กระเป๋าหนัก (เซ่อและซื่อเป็นส่วนใหญ่) จนโตวันโตคืนมีทรัพย์สินโตกันเป็นพันๆล้านบาทได้ในชั่วสิบกว่าปีมานี้เท่านั้น

โตได้เร็วพรวดพราดขนาดไหน? ก็ลองดูเครือ "โรงพยาบาลพญาไท" เป็นตัวอย่าง ว่าถึงขนาด "ทักษิณ" เข้าไปฮุบมาได้จากเจ้าของคนก่อตั้งเดิม จนทะเลาะกันบานปลายยืดเยื๊อเรื่อยมาจนทุกวันนี้

แล้วก็ดูบรรดากรรมการแพทยสภา และ "หมอไฮโซ" ที่มีหน้าตาอยู่แล้วก็เป็นเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนเองด้วย ว่าแต่ละคน "ตั้งตัวได้ในระดับร้อยล้านพันล้าน" จากชั่วอายุคนรุ่นแรกนั้นรุ่นเดียวเท่านั้น ทำได้ไง??? หากเงินที่ได้มานั้น มาอย่างสุดจริตโดยไม่ได้โกงเลือดเนื้อใครเลย
โดย: คนรู้ทัน ไม่รู้จริง [7 ก.ย. 52 8:48] ( IP A:58.8.108.56 X: )
ความคิดเห็นที่ 5
   คห 2 บ้า งัดจมูก ที่ รพ ไหน 8หมื่น รพ รัฐ ดัดฟรี ต่างหาก

ส่วนตัดไข่ รพ รัฐ ไม่ทำนะ เพราะการตัดไข่ มันเป็นงานเสริมสวย แต่ รพ รัฐไม่มีช่างเสริมสวยจ๊ะ

และพวกหมอคลินิค ที่กลัวว่าตัวเองจะขาดรายได้ ก็มักมากล่าวหาว่า รพ รัฐ เป็น โรงฆ่าสัตว์มั่ง รักษาไม่ดีมั่ง แต่เคยดูไม๊ว่า ทำไม รพ รัฐ คนไข้ไม่เคยน้อยลงเลย มีแต่จะเพิ่มขึ้นทุกๆปี
โดย: บัตรทองจ๊ะ [7 ก.ย. 52 9:53] ( IP A:125.26.111.249 X: )
ความคิดเห็นที่ 6
   เอาตัดไข่ไปดูก่อน ราคาเป็นแสน
Castration Surgeons


Surgeons in the USA:

Dr. Murray H. Kimmel, M.D.

Urology
2301 Pennsylvania Avenue
(Parkway at 23rd Street)
Philadelphia, PA 19130
Office 215-563-0847
Fax 215-563-4881

Dr. Kimmel does castration surgeries at The Kimmel Urology Center. The cost is $2000, but the doctor may charge less if you are low income. He will also remove the scrotum for an additional charge. Dr. Kimmel does not do penectomies, nullification, or SRS.

No therapist letters are necessary, and you are not required to be on HRT either. Dr. Kimmel will also castrate non-transgendered men for reasons such as high libido, health (treatment of prostate cancer for example), and religious beliefs. The doctor will give you a brief consultation before the surgery.

Transsexuals may be able to obtain estrogen treatments, but non-transgendered men will not be able to obtain testosterone treatment. If you plan on testosterone replacement, you will need to arrange this with a doctor close to your home.


Marci Bowers, M.D.

Orchiectomy page https://marcibowers.com/grs/orchiectomy.html
Website https://marcibowers.com/
Phone 719-846-6300
328 Bonaventure Street, Suite #2
Trinidad, CO 81082

Dr. Bowers performs orchiectomies for transitioning women who already meet the full SOC requirements for SRS, including RLE, two therapist letters, and a history of feminizing HRT.



Dr. Barham has retired as of December 2005
Robert Barham, MD
Portland OR




Dr. Harold M. Reed, M.D., F.I.C.S.

Miami, FL
Website: https://www.srsmiami.com/index.htm
Phone: 1-305-865-2000
1111 Kane Concourse
Bay Harbor, FL 33154

Dr. Reed is another SRS surgeon who would perform orchiectomies for pre-op transsexuals. The cost is $2000, and a therapist letter plus some lab work is required for this surgery.


Dr. Tuan A. Nguyen, M.D.

Lake Oswego, OR
Website: https://www.mdtnguyen.com/orchiectomy.htm

Dr. Nguyen is another SRS surgeon who offers orchiectomy for pre-op transsexuals. You will need to contact the office to get his price or ask other questions.


Some of the other SRS surgeons might also be willing to perform orchiectomies for transsexuals who are transitioning and taking HRT. You will need to contact these surgeons to find out if they would be willing, and what their cost and other prerequisites would be.

Those who are able to obtain a therapist referral for orchiectomy might be able to find a willing surgeon in their home town. Sometimes the therapist themselves might be able to refer you to a specific surgeon. Some courageous persons have called up every physician in their local phone book until they found a surgeon who would perform their procedure. If a surgeon is not listed on this site, they are either unwilling to perform the procedure or do not wish to be listed on the Internet as a surgeon willing to perform orchiectomy.



Surgeons in Thailand:

Some of the surgeons who do SRS in Thailand will also perform castration. If you live in North America, it will probably be less expensive to be castrated in the USA, but the Thai surgeons are additional options, especially if you seek more than just castration. These are excellent options for persons seeking castration in Australia or Asia to consider. Thailand also offers a number of inexpensive options for transsexuals seeking complete SRS. I think air travel should cost around $1000 from the USA.


NOTE: Some persons have stated in newsgroups and mailing lists that SRS and other procedures could be obtained in Thailand without SOC qualifications (such as therapist letters, HRT, and living full time as the target gender for which the surgery is intended). But I have not yet heard of anybody getting SRS there without being full time, without HRT, and without therapist letters, and I remain skeptical about claims of being able to get SRS from most Thailand surgeons without these qualifications, especially since the websites of these doctors and clinics do state their criteria for surgery and adherence to the SOC.


As of 2005, I still don’t know of anyone who was able to just travel to Thailand, give their money to the surgeon, and get on the table without any transition progress or RLE. I do know of a few women who were able to obtain SRS without SOC letters from their therapists, but all of these women had already been on HRT and in RLE for some time. Reputable Thai surgeons expect that their patients have transitioned and are able to live in their target gender. Thai surgeons are sometimes more flexible, for example someone who has done HRT and RLE (especially multi-year RLE) might get surgery with only one, or occasionally even no therapist letter, or they might not care whether the primary letter is from an MD or PHD. But I doubt you will be able to obtain SRS from a reputable surgeon without a successful social transition.

Thailand is a long way to travel (unless you happen to live there), so check with the surgeon of your choice, make sure that they know of your status and what you desire, and make absolutely certain that you meet their criteria for surgery before you travel out there. Otherwise, you might travel all the way out there and miss weeks of work and income, only to find out that the doctor won't do your surgery.

Prerequisites for surgeries other than SRS (such as penectomy or orchiectomy) may vary from those for SRS, and also vary from surgeon to surgeon, so you need to work this out with the surgeon of your choice.





Dr. Suporn
Website https://srs-thailand.com/
Chonburi, Thailand.
Dr. Suporn no longer lists orchiectomy on his website. Adults may be able to obtain SRS without therapist letters if they're already transitioned and on HRT, but SRS by this surgeon has become terribly expensive when compared to other Thailand surgeons. The cost of obtaining SOC therapist letters will probably be less than the price difference between other Thai surgeons versus Dr. Suporn. I should note that Dr. Suporn charges more for SRS and cites a longer operation time if you've already had prior orchiectomy.

The Samui Clinic
Website https://www.srsthailand.com/framestart.html
Island of Koh Samui, Thailand


UPDATE: Please read this advisory on the Samui Clinic at:
Samui Clinic Alert


Dr. Chettawut
Website: https://www.chet-plasticsurgery.com/
Bangkok, Thailand
Orchiectomy cost is $1500.

Dr. Pichet
Website: https://www.bangkokplasticsurgery.com/main.html
Bangkok, Thailand
Orchiectomy cost is $1000

Dr. Preecha
Orchiectomy page: https://www.pai.co.th/services/services.asp?services_id=45
Orchiectomy FAQ page:
https://www.pai.co.th/faqs/faqs.asp?services_id=45
Dr. Preecha’s home page: https://www.pai.co.th/index.asp
Orchiectomy cost is $2100. You will need to have been on HRT for 12 months and have 12 months of RLE. You will be given general anesthesia, spend one night in the hospital, and you will need to spend almost a week in Thailand for recovery.

Dr. Kamol
Website: https://mtfsurgery.com/
Orchiectomy cost is $2000

Yanhee General Hospital
Website: https://www.yanhee.net/main.asp
Orchiectomy cost is $1300



Back to my main castration page

Back to my main home page
โดย: งัดจมูกไม่อยากเอ่ยชื่อ รพ เดี๋ยวสะเทือน [8 ก.ย. 52 22:55] ( IP A:58.8.212.49 X: )
ความคิดเห็นที่ 7
   ตัดไข่ราคาเท่าไหร่ก็ช่าง ไม่ใช่งานหมอ นั่นมันงานช่างเสรืมสวย
โดย: ตัดไข่ รพ รัฐ ไม่ทำ [9 ก.ย. 52 23:06] ( IP A:113.53.102.64 X: )
ความคิดเห็นที่ 8
   ข่าวอนุญาตให้ตัดไข่ เป็นข่าวเงียบๆวันเดียว
ข่าวห้ามตัดไข่พาดหัวข่าว 7 วัน
นี่คือสื่อเมืองไทย ที่เมืองไทยฉิบหายทุกวันนี้ เพราะความเลวสื่อด้วยหรือไม่คิดเอาเอง
https://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1243910392

[Home> มติชนออนไลน์
วันที่ 02 มิถุนายน พ.ศ. 2552 เวลา 11:01:44 น. มติชนออนไลน์

เปิดกฎเหล็กแพทยสภาฉบับใหม่ คุมผ่าตัด"แปลงเพศ-เฉือนลูกอัณฑะ"ห้ามชายอายุต่ำกว่า18ปีรักษา
แพทยสภาออกประกาศข้อบังคับว่าด้วยเกณฑ์การรักษาเพื่อแปลงเพศ จากเพศชายให้เป็นเพศหญิง เพื่อคุ้มครองความปลอภัยให้แก่ประชาชน ผู้ป่วยที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปี แต่ยังไม่ถึง 20 ปี ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ใช้อำนาจปกครองร่วมด้วย
ผู้สื่อข่าว"มติชนออนไลน์"รายงานเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2552 ว่า นพ. สมศักดิ์ โล่ห์เลขา นายกแพทยสภา ได้ออกประกาศข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม เรื่อง เกณฑ์การรักษาเพื่อแปลงเพศ พ.ศ. 2552 ราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม2552 กำหนดหลักเกณฑ์ในการแปลงเพศชายให้เป็นเพศหญิง เพื่อคุ้มครองความปลอภัยให้แก่ประชาชน มีสาระสำคัญดังต่อไป
เนื่องจากปัจจุบันมีการรักษาด้วยการแปลงเพศอย่างถาวรจำนวนมาก โดยที่ยังไม่มีเกณฑ์มาตรฐานและข้อบ่งชี้ที่ชัดเจนในการให้การรักษา ดังนั้นเพื่อเป็นการคุ้มครองให้เกิดความปลอดภัยแก่ประชาชนผู้มีความประสงค์ต้องการแปลงเพศ แพทยสภาในฐานะองค์กรวิชาชีพที่ควบคุมดูแลมาตรฐานการประกอบวิชาชีพเวชกรรมจึงกำหนดข้อบังคับนี้
1. ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
การรักษาเพื่อแปลงเพศ หมายความว่า การรักษาโรคหรือภาวะผิดปกติทางจิตเวช โดยวิธีการผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนเพศชายให้เป็นเพศหญิงหรือเปลี่ยนเพศหญิงให้เป็นเพศชาย ทั้งนี้ให้รวมถึงการผ่าตัดหรือการรักษาด้วยวิธีการอื่น ที่หวังผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อสรีระของร่างกายหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศอย่างถาวร เช่น การตัดอัณฑะออกทั้งหมด เป็นต้น
“จิตแพทย์” หมายความว่า ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ได้รับวุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขา จิตเวชศาสตร์ หรือ จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น จากแพทยสภา
“ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มีสิทธิกระทำการผ่าตัดศัลยกรรมแปลงเพศ” ได้แก่ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ผ่านการอบรมหลักสูตร หรือแสดงให้เห็นได้ว่ามีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการทำศัลยกรรมแปลงเพศ โดยได้รับการรับรองจากแพทยสภา
“แพทย์ด้านต่อมไร้ท่อ” หมายความว่า ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ได้รับวุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขา อายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิสม กุมารเวชศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม และสูติศาสตร์ - นรีเวชวิทยาจากแพทยสภา
2.การทำศัลยกรรมแปลงเพศตามข้อบังคับนี้จะกระทำได้ใน
(1. )ผู้ป่วยที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปี แต่ยังไม่ถึง 20 ปี ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ใช้อำนาจปกครองร่วมด้วย
(2 )ผู้ป่วยที่มีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์
3.ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมจะทำการศัลยกรรมแปลงเพศเพื่อรักษาผู้ที่มีพฤติกรรมสับสนในเพศตนเองและต้องการทำศัลยกรรมแปลงเพศ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และขั้นตอน ตามประกาศแนวทางปฏิบัติของแพทยสภา โดยต้องผ่านการประเมิน และได้รับการรับรองจากจิตแพทย์จำนวนสองท่าน ว่ามีข้อบ่งชี้ที่จะต้องทำการผ่าตัด
//////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

วินิจฉัยจริยธรรม"ตัดอัณฑะ"

ชงแพทยสภาตัดสินเผยมีคนไทย5-10%ที่เบี่ยงเบนทางเพศ

ไชยาระบุตัดอัณฑะ-แปลงเพศต้องผ่านประเมินจากจิตแพทย์ ชี้บรรลุนิติภาวะแต่ไม่ผ่านประเมินก็ไม่สมควร แพทย์ต้องมีจรรยาบรรณ ขณะที่แพทยสภา ยังหาข้อสรุปกฎหมายไม่ได้เตรียมเรียกทุกฝ่ายหารือ โฆษกกรมสุขภาพจิต ย้ำผ่าตัดคำนึกผลประเมินไม่ใช่อายุ เผยคนไทยเบี่ยงเบนทางเพศอยู่ 5-10% ขณะที่นพ.ศุภชัย ชี้ 31 มี.ค. ส่งเรื่องศัลยแพทย์ตัดอัณฑะสาวประเภทสองวัย 26 ปีให้แพทยสภาวินิจฉัยจริยธรรม ยัน ผ่าตัดอวัยวะทุกอย่างในร่างกายต้องมีข้อบ่งชี้ที่ชัดเจน สวนดุสิตโพล ระบุข่าวตัดอัณฑะ ก.สาธารณสุข-แพทยสภา ต้องเร่งชี้แจงด่วน ด้านสภากาชาดไทย ยันเหตุผลไม่รับบริจาคเลือดจากเกย์-กะเทย ส่วนกรรมการสิทธิฯ จี้หาเหตุผลที่ชัดเจน ขณะที่กลุ่มเครือข่ายทางเพศ นัดถกหาทางออกของปัญหา
ภายหลังจากกลุ่มเกย์การเมืองไทยระบุว่ากลุ่มวัยรุ่นชายที่เบี่ยงเบนทางเพศ ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ กำลังนิยมไปตัดลูกอัณฑะตามคลินิกศัลยกรรมในกรุงเทพฯ และ จ.เชียงใหม่ เพราะมีความเชื่อว่าจะช่วยทำให้รูปร่างสรีระและผิวพรรณเหมือนผู้หญิงได้เร็วขึ้น ทั้ง ๆ ที่ในความเป็นจริงแล้วมีอันตรายต่อร่างกายมาก จนทำให้กระทรวงสาธารณสุข ออกไปสุ่มตรวจคลินิกศัลย กรรมต่าง ๆ โดยแพทย์ศัลยกรรมยืนยันว่าการผ่าตัดมีขั้นตอนที่ถูกต้องตามหลักการแปลงเพศทุกประการแต่มีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าและได้รับความนิยมจากกลุ่มกะเทยกันเป็นอย่างมากทั้งในและต่างประเทศ อย่างไรก็ตามสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย ของกลุ่มกะเทยได้ออกมาแถลงตอบโต้ว่าการผ่าตัดอัณฑะไม่ได้อันตรายและไม่เห็นด้วยถ้าจะให้ยุติการผ่าตัดดังกล่าวนั้น

ความคืบหน้าเมื่อวันที่ 30 มี.ค. นายไชยา สะสมทรัพย์ รมว.สาธารณสุข กล่าวถึงกรณีที่ กองการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จะยื่นเรื่องให้แพทยสภาดำเนินการเอาผิดจริยธรรมแพทย์ที่ตัดอัณฑะให้สาวประเภทสองว่า ได้รับรายงานข้อเท็จจริงในเรื่องนี้แล้ว ซึ่งตามหลักก่อนที่จะตัดอัณฑะหรือแปลงเพศให้กับสาวประเภทสองควรจะผ่านการประเมินจากจิตแพทย์ก่อนอย่างน้อย 2 ครั้ง แม้ว่าจะบรรลุนิติภาวะไปแล้วก็ตาม ดังนั้นหากไปตัดอัณฑะหรือแปลงเพศโดยไม่ผ่านการประเมินจากจิตแพทย์ทางแพทยสภาก็น่าจะพิจารณาเพื่อหาทางป้องกัน

ผู้สื่อข่าวถามว่า หากสาวประเภทสองบรรลุนิติภาวะ อายุ 26 ปีแล้วไม่ผ่านการประเมินน่าจะเอาผิดทางจริยธรรมได้หรือไม่ นายไชยา กล่าวว่า คิดว่าน่าจะยังได้อยู่ เพราะการตัดอัณฑะไปแล้วเอาคืนไม่ได้เกิดมาเสียใจภายหลังจะทำอย่างไร เรื่องจรรยาบรรณแพทย์จะต้องมี ถ้าทำถูกต้องตามหลักเกณฑ์ก็ไม่น่าจะมีปัญหา คือ ก่อนตัดก็ส่งให้จิตแพทย์ประเมินอาการก่อน

นพ.อำนาจ กุสลานันท์ เลขาธิการแพทยสภา กล่าวถึงกรณีจะออกกฎหมาย และเอาอายุมาเป็นเกณฑ์ในการอนุญาตให้ตัดอัณฑะหรือแปลงเพศว่า ขณะนี้ยังไม่ได้ข้อสรุปว่าผลจะออกมาอย่างไร เพราะต้องหารือกับทุกฝ่ายให้รอบคอบก่อน ซึ่งเมื่อมีความเห็นหลากหลาย ทางคณะอนุกรรมการร่างข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วย หลักเกณฑ์การทำศัลยกรรมแปลงเพศ ที่มี นพ.สมศักดิ์ โล่เลขา เป็นประธาน ก็จะเชิญทุกฝ่ายมาหารือ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มเกย์การเมืองไทย หรือกลุ่มผู้หญิงข้ามเพศ ส่วนเรื่องอายุนั้นก็ต้องมาดูว่าควรเป็นเท่าใด

“การตัดอัณฑะหรือการแปลงเพศจะต้องมีมาตรฐานว่า มิใช่ว่าเห็นสาวประเภทสองใส่กระโปรงเดินมาแล้วประเมินว่าเป็นผู้หญิงจะตัดอัณฑะหรือแปลงเพศให้ ซึ่งการตัดสินชีวิตคนทั้งชีวิตจะต้องพิจารณาด้วยความรอบคอบ ไม่แน่ใจว่าเรื่องนี้จะได้ข้อยุติโดยเร็วหรือไม่ อาจจะต้องคุยกันยาว โดยนำกรณีของสหรัฐหรือยุโรปมาเทียบเคียงดูว่าหลักเกณฑ์เป็นอย่างไร จะต้องใช้จิต แพทย์กี่คนประเมิน” นพ.อำนาจ กล่าว

นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า โดยมาตรฐานการรักษาก่อนที่จะตัดอัณฑะหรือแปลงเพศควรจะผ่านการประเมินจากจิตแพทย์ก่อน ไม่ว่าอายุจะบรรลุนิติภาวะหรือไม่ เพราะแม้บางคนจะบรรลุนิติภาวะไปแล้วแต่ก็ยังสับสนตัวเองอยู่ก็มีเช่นกัน โดยเฉพาะก่อนผ่าตัดแปลงเพศจะต้องรักษาด้านจิตใจและให้ฮอร์โมนก่อน ลองให้ใช้ชีวิตเป็นผู้หญิง 1-2 ปี ถ้าคนไข้ยังไม่พอใจเพราะกายไม่เข้ากับใจอีก การแปลงเพศก็คือทางเลือกสุดท้าย

ผู้สื่อข่าวถามว่า พอจะบอกได้หรือไม่ว่า ปัจจุบันมีผู้ชายที่มีพฤติกรรมชายรักชาย ทั้งเกย์ ตุ๊ด กะเทย มีกี่เปอร์เซ็นต์ นพ.ทวีศิลป์ กล่าวว่า คงบอกได้ยาก เพราะหลายคนไม่แสดงตัว แต่เท่าที่มีการพูดกันแบบอ้อม ๆ คาดว่าคนกลุ่มนี้ จะมีประมาณ 5-10 เปอร์เซ็นต์ โดยในบางประเทศบอกว่ามีถึง 10% แต่ประเทศไทยยังไม่มีการสำรวจ อีกทั้งคงไม่มีใครบอกว่าตัวเองเป็น ซึ่ง ก็น่าศึกษาเช่นกัน แต่จากที่มีข่าวคนกลุ่มนี้จัดกิจกรรมกันทีมีเป็นหลักหมื่นหลักแสนคน หรือบางแห่งก็มีเป็นหลักพัน เมื่อรวมกับกลุ่มผู้หญิง ที่มีพฤติกรรมหญิงรักหญิงคาดว่าตัวเลขทั้งหญิงและชายที่เบี่ยงเบนก็น่าจะอยู่ที่ประมาณ 5-10 เปอร์เซ็นต์

เมื่อถามถึงค่าใช้จ่ายในการให้คำปรึกษากับกลุ่มคนเหล่านี้ นพ.ทวีศิลป์ กล่าวว่า รพ.รัฐและ รพ.เอกชนหรือคลินิกเอกชนไม่เหมือนกัน ถามว่าแพงหรือไม่ ก็ต้องบอกว่าคงไม่เท่ากับการผ่าตัด แต่การให้คำปรึกษาทางจิตเวช อาจจะต้องนัดมาพบ หรือพูดคุยกันบ่อย คนอาจจะคิดว่าราคาสูง แต่ก็ถือว่าคุ้มเพราะจิตแพทย์มิใช่จะให้คำปรึกษาดูแลเด็กเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงผู้ปกครองด้วย โดยเฉพาะการผ่าตัดแปลงเพศพ่อแม่หลายคนซึมเศร้าไปเลย เพราะลูกไม่สามารถแต่งงานมีทายาทได้

นพ.ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ในฐานะกำกับดูแลกองการประกอบโรคศิลปะ กล่าวว่า การตัดลูกอัณฑะออก จะเรียกว่าเป็นการ ผ่าตัดแปลงเพศหรือไม่ก็ตาม ก็ถือว่าเป็นการลดระดับฮอร์โมนเพศชายอย่างถาวร ซึ่งการตัดอัณฑะถือเป็นส่วนสำคัญของการที่จะนำไปสู่การผ่าตัดแปลงเพศ เพราะฉะนั้นความเห็นของตนคิดว่า ตรงนี้จะต้องมีขึ้นตอนการประเมินความพร้อมด้านจิตใจในระดับที่เทียบเคียงกับการผ่าตัดแปลงเพศ คือต้องผ่านการประเมินจากจิตแพทย์ และแพทย์ผู้รักษาด้านอื่น ๆ ก่อน มิใช่ให้ศัลยแพทย์ประเมินเพียงฝ่ายเดียว

“ในวันที่ 31 มี.ค. จะส่งเรื่องไป ให้แพทยสภาพิจารณาเรื่องจริยธรรมของแพทย์ที่ทำการตัดอัณฑะให้กับสาวประเภทสองวัย 26 ปี บวกกับคำให้สัมภาษณ์ของแพทย์ที่ระบุว่าการดำเนินการให้คนไข้ โดยไม่ผ่านจิตแพทย์ข้อเท็จจริงดังกล่าวก็ถือว่าเพียงพอแล้ว ก็ต้องรอดูว่าแพทยสภาจะพิจารณาจริยธรรมอย่างไร ตามมาตร ฐานการรักษาพยาบาลผู้ป่วย ไม่ว่าจะเป็นการรักษาอะไร ต้องมีมาตรฐานที่กำหนด มีข้อบ่งชี้จำเพาะเจาะจง เพราะการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะต้องมีขั้นตอนประเมินจากแพทย์ ซึ่งศัลยแพทย์จะดำเนินการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ กรณีตัดอัณฑะ หรือแปลงเพศก็ต้องมีข้อบ่งชี้เช่นเดียวกัน” นพ. ศุภชัย กล่าว

นพ.ศุภชัย กล่าวต่อว่า การรักษาใด ๆ ก็ตามโดยเฉพาะการรักษาที่กระทบกระเทือนสูงต่อคนไข้ มิใช่ว่าแพทย์คนเดียวจะทำได้ทุกสิ่งทุกอย่าง แต่จะต้องคำนึงถึงจริยธรรม คุณธรรม และมาตรฐานแห่งวิชาชีพ ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีจริยธรรมมาเป็นตัวกำกับ เช่นเดียวกับหลาย ๆ เรื่องที่อ่อนไหว ทั้งการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ การใช้สเต็มเซลล์รักษา การทำแท้ง ซึ่งแพทย์ทุกคนต้องตระหนักในหลักจริยธรรมอย่างเคร่งครัด กรณี การตัดอัณฑะก็เช่นกัน ไม่ว่าจะมีการเขียนไว้เป็นมาตรฐานหรือไม่ ทางแพทยสภาจะต้องพิจารณาแพทย์ผู้ให้การรักษาโดยยึดหลักจริยธรรมของ แพทย์เป็นเรื่องสูงสุด เพื่อคุ้มครองประชาชน และรักษาศักดิ์ศรีเกียรติยศของแพทย์ด้วยกัน

สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนเรื่องกะเทยจับฉ่ายในสายตาประชาชน จากกรณีมีการนำเสนอข่าวการตัดอัณฑะนั้น ปรากฏว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 38.21 เห็นว่าข่าวดังกล่าวเป็นเรื่องที่ทุกฝ่ายต้องเร่งช่วยกันแก้ไข ขณะเดียวกันกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 33.85 เห็นว่าปัญหาที่เกิดขึ้นเพราะสังคมไทยปล่อยปละละเลย และร้อยละ 25.70 คิดว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะกระทรวงสาธารณสุขทำหน้าที่ไม่จริงจัง โดยหน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบเรื่องนี้คือกระทรวงสาธารณสุขและแพทยสภา ส่วนแนวทางป้องกันและแก้ไขนั้น กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 36.93 คิดว่ากระทรวงสาธารณสุขและแพทยสภาต้องชี้แจงให้ประชาชนเข้าใจโดยด่วน พร้อมกับให้ความรู้และ ข้อมูลทุกด้านทั้งบวกและลบอย่างละเอียด

ส่วนเรื่องสภากาชาดไทยไม่รับบริจาคโลหิตจากกลุ่มเกย์และกะเทยนั้น พญ.สร้อยสอางค์ พิกุลสด ผอ.ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยฯ กล่าวว่า ในปัจจุบันคนเหล่านี้ก็ยังมาบริจาคเลือดอยู่ เช่น บางคนรูปร่างหน้าตาเหมือนผู้หญิง แต่พอให้กรอกรายละเอียดระบุว่าเป็นนาย เราก็จะขอปฏิเสธไป บางคนบริจาคมาแล้ว 20 ครั้ง แต่พอกรอกรายละเอียดระบุว่ามีเพศสัมพันธ์กับเพศเดียวกัน ก็ต้องปฏิเสธไป ซึ่งก็มีเหมือนกันที่ไม่เข้าใจ จึงขอเรียนว่าที่เราปฏิเสธมิได้หมายความว่าเรารังเกียจ แต่เนื่องจากในผู้บริจาคกลุ่มนี้บางคนอาจจะมีโอกาสที่จะแพร่เชื้อเอชไอวีไปสู่คนอื่น ดังนั้นจึงต้องปฏิเสธไป หากยังมีความปรารถนาดีอยู่ก็ไม่จำเป็นจะบริจาคเองก็ได้ อาจจะช่วยโดยการแนะนำคนอื่นให้มาบริจาคโลหิตก็ได้

พญ.สร้อยสอางค์ กล่าวต่อว่า สำหรับโรคที่ตรวจพบในเลือดบริจาค เช่น เอชไอวี เอดส์ ซิฟิลิส ไวรัสตับอักเสบบีและซี โดยเฉพาะไวรัสตับอักเสบบีพบมากที่สุด แต่รวมกันแล้วมีประมาณ 2% เท่านั้น ซึ่งก่อนจะนำเลือดเหล่านี้ไปใช้จะต้องมีการตรวจอย่างละเอียด ซึ่งถ้าเลือดถุงดังกล่าวใช้ไม่ได้ คือ ตรวจพบโรค จะทำให้เสียค่าใช้จ่ายประมาณ 700-800 บาทต่อถุง ถ้า 1 วัน อัตราที่ตั้งเป้าในการรับบริจาคคือ 1,000 ถุง มีเลือดที่ใช้ไม่ได้ 2% หรือ 20 ถุงจะทำให้เสียเงินโดยเปล่าประโยชน์ประมาณ 16,000 บาทเลยทีเดียว ดังนั้นจึงอยากขอความร่วมมือและเข้าใจด้วย

“ด้วยเหตุนี้ในแบบสอบถามจึงต้องมีคำถามคัดกรองผู้บริจาคโลหิต ว่า “ท่านหรือคู่ของท่านทั้งชายและหญิงมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศกับผู้อื่นใช่หรือไม่” และยังมีคำถามว่า “ท่านหรือคู่ของท่านทั้งชายและหญิงมีเพศสัมพันธ์กับเพศชายด้วยกันใช่หรือไม่” ที่ต้องกำหนดเพศหญิงเข้าไปด้วย เพื่อจะไม่ได้เป็นการเลือกปฏิบัติเฉพาะกลุ่มที่เป็นชายรักชาย ตามที่นายนที ธีระโรจนพงษ์ ผอ.กลุ่มเกย์การเมืองไทยท้วงติงมา จึงได้เพิ่มข้อความเพศหญิงเข้าไป” ผอ.ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ กล่าว

นางนัยนา สุภาพึ่ง ประธานคณะอนุ กรรมการด้านส่งเสริมโอกาสและความเสมอภาค คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กล่าวว่า ภายในสัปดาห์หน้าตนจะทำหนังสือสอบถามและขอแบบฟอร์มการขอบริจาคเลือดมาพิจารณาอย่างเป็นทางการ ถ้าพบว่าเป็นจริงที่สภากาชาดไทยปฏิเสธแบบเหมารวมกับกลุ่มคนรักร่วมเพศ ตนก็จะทำหนังสือเสนอแนะว่าไม่ควรปฏิเสธแบบเหมารวม เพราะไม่ว่าจะเป็นบุคคลกลุ่มใด เพศใด ก็สามารถติดเชื้อเอชไอวี ได้ไม่แตกต่างกัน นอก จากนี้จะเชิญกลุ่มคนรักร่วมเพศและสภากาชาดไทยมาทำความเข้าใจต่อไป เพราะการไปจำกัดสิทธิเช่นนี้ไม่ถูกต้อง อย่างคนที่มีชื่อเสียงในสังคม อาทิ ดร.เสรี วงษ์มณฑา เป็นบุคคลที่มีความรู้ในการดูแลตัวเอง การออกแบบฟอร์มเหมารวมไม่รับคนกลุ่มนี้ ถือเป็นการเลือกปฏิบัติ

น.ส.ฉันทลักษณ์ รักษาอยู่ ผู้ประสานงานเครือข่ายความหลากหลายทางเพศ กล่าวว่า ภายในสัปดาห์นี้ ทางกลุ่มฯจะนัดประชุมด่วนหา รือถึงปัญหาที่สภากาชาดไทยฯ ปฏิเสธรับบริจาคเลือดจากกลุ่มคนรักเพศเดียวกันและกลุ่มคนรักร่วมเพศ รวมทั้งจะมีการหารือการตัดอัณฑะของเยาวชน ซึ่งในเรื่องการรับบริจาคเลือดจะมีการยื่นฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ ผ่านกรรมการสิทธิมนุษยชนฯ ให้วินิจฉัยว่า กฎระเบียบหรือการปฏิบัติแบบนี้ของสภากาชาดไทยฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ เนื่องจากในมาตรา 30 ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ได้บันทึกเจตนารมณ์ว่า ห้ามเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งเพศ โดยความหมายของเพศ หมายถึงรวมถึงเพศวิถี วิถีเพศที่ แตกต่างจากกระแสหลักด้วย ส่วนเรื่องการตัดอัณฑะเห็นว่าไม่ควรไปห้ามตัดอัณฑะทุกกรณี.


ที่มาจากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์
โดย: แพทยสภาโอเค [9 ก.ย. 52 23:40] ( IP A:58.11.85.111 X: )

คลิกที่นี่เพื่อกลับหน้าบ้าน