อาจจะไม่ค่อยมีเนื้อหานะครับ ก
|
ความคิดเห็นที่ 1 ตัวแรก Channa amphibeus (McClelland, 1845) ชื่อทั่วไป : Borna snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 90.0 cm TL แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : อินเดีย และ ภูฐาน
** บางครั้งจะสับสนกับ Channa barca มีแต่ภาพวาดนะครับ
| โดย: อีกาฯ [17 พ.ค. 49 23:56] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 3 Channa argus argus (Cantor, 1842) ชื่อทั่วไป : Snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 100.0 cm TL สภาพภูมิอากาศ : เขตอบอุ่น 14 - 22 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเขีย : จีน และ ทางตะวันตกของเกาหลีใต้. ญี่ปุ่น และเป็นชนิดที่มีรายงานว่าไปคุกคามปลาท้องถิ่นในประเทศอเมริกา
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 4 Channa argus warpachowskii (Berg, 1909) ชื่อทั่วไป : Amur snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 80.0 cm TL สภาพภูมิอากาศ : เขตอบอุ่น 4 - 20 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : จากรัสเซีย ทะเลสาป Khanka. ตอนกลางและตอนล่างของ Amur. แต่ไม่พบในแม่น้ำ Suifun. พบมีการนำเข้ามายังลุ่มน้ำ Aral ในปี 1960 และแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว และกระจายไปยังตอนล่างของ Amu Darya, Syr Darya และแม่น้ำ Kashka-Darya. ปัจจุบันมีการนำเข้าไปยัง Talas และ แม่น้ำ Chu
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 5 Channa asiatica (Linnaeus, 1758) ชื่อทั่วไป : Amur snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 20.0 cm TL สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 22 - 28 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : ลุ่มแม่น้ำ Yangtze ตอนกลางของจีนม ไต้หวัน, เกาะ Hainan ลุ่มแม่น้ำแดง ของเวียตนามเหนือ. และมีรายงานว่าพบที่ญี่ปุ่นและศรีลังกาด้วย
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 6 Channa aurantimaculata (Musikasinthorn, 2000) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 19.1 cm SL สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : อินเดีย
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 7 Channa bankanensis (Bleeker, 1852) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 23.5 cm TL สภาวะแวดล้อม : pH 2.8-3.8 สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : อินโดนีเซีย และ มาเลเซีย
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 8 Channa baramensis (Steindachner, 1901) ชื่อทั่วไป : Baram snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : มาเลเซีย
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 9 Channa barca (Hamilton, 1822) ชื่อทั่วไป : Barca snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 90.0 cm TL สภาพแวดล้อม : เป็นชนิดที่มีการอพยพโยกย้ายถิ่นฐาน สภาพภูมิอากาศ : เขตอบอุ่น แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : อินเดีย และ บังคลาเทศ
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 10 Channa bleheri (Vierke, 1991) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 13.5 cm SL สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : อินเดีย
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 11 Channa burmanica (Chaudhuri, 1919) ชื่อทั่วไป : Burmease snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : พม่า
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 12 Channa cyanospilos (Bleeker, 1853) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 17.6 cm SL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : อินโดนีเซีย (สุมาตรา)
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 13 Channa diplogramma (Day, 1865) ชื่อทั่วไป : Indian Giant Snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : - สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : Cochin, ชายฝั่ง Malabar, อินเดีย
ชนิดนี้ผมหารูปไม่ได้ครับ | โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 14 Channa gachua (Hamilton, 1822) ชื่อทั่วไป : ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 20.0 cm SL สภาวะแวดล้อม : pH 6 - 7 สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 22-26 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : ศรีลังกา จนถึง แม่กลอง และ บาหลี อินโดนีเซีย. รวมถึง Maharashtra, อินเดีย
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 15 Channa harcourtbutleri (Annandale, 1918) ชื่อทั่วไป : Inle snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 18.5 cm SL สภาวะแวดล้อม : อาศัยอยู่บริเวณผิวน้ำ สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : พม่า
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 16 Channa lucius (Cuvier, 1831) ชื่อทั่วไป : Pla kra song ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 40.0 cm SL สภาวะแวดล้อม : เป็นชนิดที่มีการอพยพ สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 22 - 26 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : ไทย และ อินโดนีเซีย
ปลากระสงนั่นละครับ
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 17 Channa maculata (Lacep่de, 1801) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 20.0 cm TL สภาวะแวดล้อม : สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : ญี่ปุ่น, จีนตอนใต้, เวียตนาม, ไต้หวัน และ ฟิลิปปินส์
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 18 Channa marulioides (Bleeker, 1851) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 27.0 cm TL สภาวะแวดล้อม : สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : อินโดนีเซีย และ มาเลซีย
*บ้านเราเรียกกันว่าปลาช่อนข้าหลวงครับ
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 19 Channa marulius (Hamilton, 1822) ชื่อทั่วไป : Great snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 183 cm TL สภาวะแวดล้อม : มีการอพยพโยกย้ายถิ่นฐาน สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 24 - 28 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : ตั้งแต่อินเดีย จนถึง จีน, ทางตอนใต้ของประเทศไทย และ กัมพูชา รวมถึงปากีสถาน
ชนิดนี้จะเป็นช่อนงูเห่าชนิดที่พบในอินเดีย และบังคลาเทศ ซึ่งเป็นคนละชนิดกับช่อนงูเห่าที่พบในประเทศไทยและพม่า https://siamensis.org/webboard/Webanswer.asp?id=2566
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 20 Channa melanoptera (Bleeker, 1855) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 65.0 cm TL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : อินโดนีเซีย
มีแต่รูปเล็กนะครับ
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 21 Channa melasoma (Bleeker, 1851) ชื่อทั่วไป : Black snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 30.0 cm SL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ :ทวีปเอเชีย : แม่น้ำแม่กลองในประเทศไทย ไปจนถึง อินโดนีเซีย และ ฟิลิปปินส์
ในบ้านเราเรียกกันว่าช่อนดำครับ
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 22 Channa micropeltes (Cuvier, 1831) ชื่อทั่วไป : Giant snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 130 cm SL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 25 - 28 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ :ทวีปเอเชีย : ลุ่มแม่น้ำแม่กลอง และ ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา, เพนนินซูล่า มาเลเซีย, เกาะต่างๆของสุมาตราและบอร์เนียว อินโดนีเซีย
ชะโดจอมโหดครับ
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 23 Channa nox (Zhang, Musikasinthorn & Watanabe, 2002) ชื่อทั่วไป : Night snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 19.8 cm SL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตอบอุ่น แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ :ทวีปเอเชีย : จีน
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 24 Channa orientalis (Bloch & Schneider, 1801) ชื่อทั่วไป : Walking snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 33.0 cm TL สภาวะแวดล้อม : เป็นชนิดที่มีการอพยพ อาศัยอยู่ได้ทั้งน้ำจืดและน้ำกร่อย pH. 6-8 dH 5 -19 สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 23 - 6 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ :ทวีปเอเชีย : อาฟกานิสถาน และ Baluchistan ทางใต้แพร่กระจายไปถึง ศรีลังกา และทางตะวันออกไปถึง อินโดนีเซีย
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 25 Channa panaw (Musikasinthorn, 1998) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 17.1 cm SL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ :ทวีปเอเชีย : เท่าที่ทราบพบจากลุ่มแม่น้ำอิระวดี (Irrawaddy) และ ซิสแตง (Sittang) ในประเทศพม่าเพียง 2 แหล่งเท่านั้น
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 26 Channa pleurophthalmus (Bleeker, 1851) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 40.0 cm TL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ :ทวีปเอเชีย : สุมาตราในอินโดนเซีย และบอเนียว
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 27 Channa punctata (Bloch, 1793) ชื่อทั่วไป : Spotted snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 31.0 cm TL สภาวะแวดล้อม : เป็นชนิดที่มีการอพยพ อาศัยอยู่ในน้ำจืดและน้ำกร่อย สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 22-28 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ :ทวีปเอเชีย : อัฟกานิสถาน, ปากีสถาน, อินเดีย, ศรีลังกา, เนปาล, บังคลาเทศ, พม่า และ เขตจีนยูนนาน (Yunnan)
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 28 Channa stewartii (Playfair, 1867) ชื่อทั่วไป : Assamese snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 25.0 cm TL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : พื้นที่ทางตะวันออกของหิมาลายา (อินเดีย และ เนปาล)
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 29 Channa striata (Bloch, 1793) ชื่อทั่วไป : Common snakehead ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 100.0 cm SL สภาวะแวดล้อม : การอพยพอย่างภายในแหล่งน้ำจืด, อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำจืด และน้ำกร่อย, pH 7 8; dH 20, ระดับความลึก 1 10 m สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 23-27 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปเอเชีย : ปากีสถานจนถึงประเทศไทย และทางตอนใต้ของจีน. ในหลายประเทศจากรายงานพบว่าจากการนำเข้าปลาช่อนชนิดนี้เข้ามาในประเทศส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาของประเทศเหล่านั้น
ชนิดนี้คือปลาช่อนที่เราคุ้นเคยกันเป็นอย่างดีครับ
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 30 Parachanna africana (Steindachner, 1879) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 32.0 cm TL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 25-28 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปแอฟริกา : ตอนใต้ของ Benin (ตอนล่างของแม่น้ำ Oum) จนถึงไนจีเรีย (ตอนล่างของแม่น้ำ Cross)
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 31 Parachanna insignis (Sauvage, 1884) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 41.0 cm TL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 22-28 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปแอฟริกา : เหมือนกับ Parachanna obscura ในบางส่วนของลุ่มน้ำ Ogowe และ Congo
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 32 Parachanna obscura (Gunther, 1861) ชื่อทั่วไป : - ขนาดเมื่อโตเต็มที่ : 50.0 cm SL สภาวะแวดล้อม : - สภาพภูมิอากาศ : เขตร้อน 26-28 องศาเซลเซียส แหล่งแพร่กระจายพันธุ์ : ทวีปแอฟริกา : แม่น้ำไนล์, เซเนกัล ไปจนถึง ระบบแหล่งน้ำ แชด ขึ้นไปถึง ระบบแหล่งน้ำคองโก
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 33 เพิ่มเติมอีกนึดนึงนะครับ วงศ์ปลาช่อนที่พบในประเทศไทย จะเห็นว่าบางชนิดจะไม่มีในข้อมูลครับ (www.fishbase.org) Channa grandinosa (Cuvier, 1831) ก๊วน Channa limbata (Cuvier, 1831) ก้าง Channa lucius (Cuv. in Cuv. & Val., 1831) กะสง Channa aurolineatus (Day, 1870) ล่อน, ช่อนงูเห่า Channa maruloides (Bleeker, 1851) ข้าหลวง Channa melasoma (Bleeker, 1851) ช่อนดำ Channa micropeltes (Cuv. in Cuv. & Val., 1831) ชะโด Channa striata (Bloch, 1797) ช่อน
ข้อมูลจาก https://www.siamensis.org
Channa grandinosa (Cuvier, 1831) ก๊วน
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 34 Channa limbata (Cuvier, 1831) ก้าง
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 35 Channa aurolineatus (Day, 1870) ล่อน, ช่อนงูเห่า เป็นปลาที่พบได้ในพม่า แม่น้ำแม่กลอง และเจ้าพระยาของไทย โดยปลาจากทางพม่าจะมีจุดกระสีขาวกระจายทั่วตัว
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 36 ยอดมากครับคุณพี่ | โดย: mofish_6@hotmail.com [18 พ.ค. 49] ( IP A:125.24.81.131 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 37 ส่วนนี้เพิ่มเติมนะครับ เอามาจาก webboard siamensis
ช่อนเจ็ดสีที่มีขายกันตอนนี้ หมายถึงปลาช่อน 3 ชนิดจากอินเดีย 1. Channa bleheri ช่อนเจ็ดสี ขนาดปลากั๊ง มีลักษณะเด่นที่ไม่มีครีบท้อง มีลายแถบสีแดงแนวเฉียง หรืออาจเป็นจุดที่ครีบหลังและครีบหางเห็นเด่นชัด โตเต็มที่ขนาดประมาณ 15 เซนติเมตร(ความเห็นที่ 1,9,10 และ 12)
2. Channa sp. (assam) ช่อนเจ็ดสี ชนิดนี้อาจถือได้ว่ามีขนาดเล็กที่สุดในบรรดาปลาช่อนทั้งหลาย ลักษณะใกล้เคียงกับชนิดแรก ต่างกันที่ไม่มีแถบลายเฉียงที่ครีบหลังและครีบก้น ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 8-10 เซนติเมตร (ความเห็นที่ 7)
3. Channa aurantimaculata ช่อนเจ็ดสีใหญ่ ชนิดนี้มีครีบท้อง ตอนที่มีขนาดเล็กจะแลดูเหมือนปลากั๊งที่มีลายเต็มตัว และเห็นลายบั้งที่ครีบอกชัดเจน นอกจากนี้ ครีบหลัง ครีบก้น และครีบหางยังมีลายเห็นได้เด่นชัด สีพื้นลำตัวเป็นสีเหลืองสด มีจุดดำกระจายทั่วตัว ลำตัวค่อนข้างเรียวยาว โตเต็มที่ยาวได้กว่า 50 เซนติเมตร (ความเห็นที่ 3)
จริงๆ แล้วพอเรียกว่า "ช่อนเจ็ดสี" ทำให้นึกว่าเป็นปลาโตขนาดปลาช่อนทุกที แต่ถ้าจะเรียก "กั๊งเจ็ดสี" ก็รู้สึกแปลกๆ อย่างไรก็ไม่รู้........
จากคุณ : Plateen - [ 21/10/2547 > รูป Channa sp.(Assam)
| โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 38 ปลาช่อนจำเป็นต้องฮุบอากาศโดยตรงครับแล้วขอให้อย่าให้ผิวแห้งมันก็อยู่ได้โดยไม่ตาย โครงสร้างเหงือกของมันออกแบบมาเพื่อสัมผัสอากาศโดยตรง ปลาชะโดจะดำน้ำได้นานกว่าปลาช่อนเพราะเป็นวิวัฒนาการในแหล่งน้ำที่มีออกซิเจนสูงกว่าที่ปลาช่อนอยู่
จากคุณ : knotsnake - [ 24/8/2547 >
https://siamensis.org/webboard/Webanswer.asp?id=2327 | โดย: อีกาฯ [18 พ.ค. 49 1:02] ( IP A:124.121.95.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 39 ดีมากเลยครับ คุณอีกา ได้ความรู้เรื่องปลาช่อนอีกเยอะเลย | โดย: yut1678 [25 มิ.ย. 49 20:10] ( IP A:61.7.157.97 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 40 ขอบคุณมากสำหรับภาพเเละข้อมูลดีๆถูกใจคนรักปลาช่อนล่ะครับ.. | โดย: pladuk007@hotmail.com [27 ส.ค. 49 7:56] ( IP A:203.209.102.26 X: ) |  |
|