ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของ ธาตุแคลเซียม
|
ความคิดเห็นที่ 1 ขอบคุณครับกับความรู้ใหม่ๆน่าสนใจแล้วจะนำไปปรับใช้กันต้นไม้ที่บ้านครับ | โดย: โอม นครชัยศรี 177 [29 ธ.ค. 49 6:18] ( IP A:203.113.67.71 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 2 ในวันเปิดสวนป้าจะมีปุ๋ยกระดูก(ซึ่งให้แคลเซี่ยมสูงมาก)ไปไว้บริการแก่สมาชิกด้วยค่ะ | โดย: ป้านงค์ 156 [29 ธ.ค. 49 8:27] ( IP A:124.121.92.227 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 4 ธาตุแคลเซียม - CALCIUM
หน้าที่สำคัญของธาตุแคลเซียมในพืช มีหน้าที่โดยตรงเกี่ยวกับโครงสร้างของผลไม้ ช่วยเสริมสร้างเซลล์และการแบ่งเซลล์ของพืช ซึ่งพืชต้องการอย่างต่อเนื่อง ช่วยในการสร้างเซลล์และโครงสร้างของเซลล์ของพืช ช่วยให้เซลล์ติดต่อกัน และจะช่วยเชื่อมผนังเซลล์ให้เป็นรูปร่าง และขนาดให้เป็นไปตามลักษณะของพืชแต่ละชนิด ช่วยเพิ่มการติดผล ช่วยให้สีเนื้อและสีผิวของผลสดใส ช่วยลดการเกิดเนื้อของผลแข็งกระด้าง และเนื้อแฉะ ช่วยป้องกัน ผลร่วง ผลแตก มีบาทบาทที่สำคัญในระยะการเจริญเติบโตและการออกดอกของพืช มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการย่อยธาตุไนโตรเจน เป็นตัวช่วยลดการหายในของพืช เป็นตัวช่วยเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล
การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุแคลเซียม ใบอ่อนที่แตกออกมาใหม่จะหดสั้นและเหี่ยว แม้ว่าใบเก่าจะมีธาตุแคลเซียมอยู่ เนื่องจากธาตุแคลเซียมไม่เคลื่อนย้ายจากใบเก่าสู่ใบใหม่ ใบอ่อนที่ขาดธาตุแคลเซียมจะมีสีเขียวแต่ปลายใบจะเหลือง และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและจะตายในที่สุด ถ้าขาดธาตุแคลเซียมที่บริเวณขั้วหรือข้อต่อของผลจะทำให้เกิดแก๊สเอธีลีน(Ethylene) เป็นเหตุให้ผลร่วง พืชหลายชนิดที่ขาดธาตุแคลเซียม เช่น มะเขือเทศ แตงโม พริก แตงกวา จะเกิดการเน่าที่ส่วนล่างผล, ในผักขึ้นฉ่ายจะแสดงอาการไส้ดำ, ในแครอดจะแสดงอาการฟ่ามที่หัว, ในแอปเปิลจะมีรสขม, ในมันฝรั่งจะแสดงอาการเป็นสีน้ำตาลบริเวณกลางหัว, ในพืชลงหัวต่าง ๆ เช่น ผักกาดหัว(หัวไชเท้า) หอม กระเทียม จะแสดงอาการไม่ลงหัว หรือลงหัวแต่หัวจะไม่สมบูรณ์ ในพืชไร่ ต้นจะแตกเป็นพุ่มแคระเหมือนพัด แสดงอาการที่ราก คือ รากจะสั้น โตหนามีสีน้ำตาล ดูดอาหารไม่ปกติ ในระยะพืชออกดอก ติดผล ถ้าพืชขาดธาตุแคลเซียม ตาดอกและกลีบดอกจะไม่พัฒนา ดอกและผลจะร่วง
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุแคลเซียม ในดินที่มีค่าของความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) ระหว่าง 4.0-7.0 และ 8.5 ขึ้นไป เมื่อให้ธาตุไนโตรเจนมาก เมื่อให้ธาตุโพแทสเซียมมาก เมื่อพืชแตกใบอ่อน แม้ว่าใบแก่จะมีธาตุแคลเซียม ทั้งนี้เนื่องจากธาตุแคลเซียมไม่เคลื่อนย้ายในพืช เมื่อพืชแตกใบอ่อนต้องให้ธาตุแคลเซียมอยู่เสมอ ธาตุแคลเซียมจะมีความสมดุลกับธาตุโบรอนและธาตุแมกนีเซียมในพืช ถ้าไม่มีความสมดุลระหว่างธาตุทั้ง 3 ชนิด พืชจะแสดงอาการผิดปกติ ธาตุแคลเซียมจะสูญเสียไปในดิน กลายเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต ซึ่งพืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้ ในดินที่เป็นกรด จะตรึงธาตุแคลเซียมไว้ ทำให้พืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้ | โดย: yavid_thait@hotmail.com [12 ก.พ. 53 14:10] ( IP A:124.121.234.66 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 5 ธาตุแคลเซียม - CALCIUM
หน้าที่สำคัญของธาตุแคลเซียมในพืช มีหน้าที่โดยตรงเกี่ยวกับโครงสร้างของผลไม้ ช่วยเสริมสร้างเซลล์และการแบ่งเซลล์ของพืช ซึ่งพืชต้องการอย่างต่อเนื่อง ช่วยในการสร้างเซลล์และโครงสร้างของเซลล์ของพืช ช่วยให้เซลล์ติดต่อกัน และจะช่วยเชื่อมผนังเซลล์ให้เป็นรูปร่าง และขนาดให้เป็นไปตามลักษณะของพืชแต่ละชนิด ช่วยเพิ่มการติดผล ช่วยให้สีเนื้อและสีผิวของผลสดใส ช่วยลดการเกิดเนื้อของผลแข็งกระด้าง และเนื้อแฉะ ช่วยป้องกัน ผลร่วง ผลแตก มีบาทบาทที่สำคัญในระยะการเจริญเติบโตและการออกดอกของพืช มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการย่อยธาตุไนโตรเจน เป็นตัวช่วยลดการหายในของพืช เป็นตัวช่วยเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล
การแสดงอาการของพืชที่ขาดธาตุแคลเซียม ใบอ่อนที่แตกออกมาใหม่จะหดสั้นและเหี่ยว แม้ว่าใบเก่าจะมีธาตุแคลเซียมอยู่ เนื่องจากธาตุแคลเซียมไม่เคลื่อนย้ายจากใบเก่าสู่ใบใหม่ ใบอ่อนที่ขาดธาตุแคลเซียมจะมีสีเขียวแต่ปลายใบจะเหลือง และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและจะตายในที่สุด ถ้าขาดธาตุแคลเซียมที่บริเวณขั้วหรือข้อต่อของผลจะทำให้เกิดแก๊สเอธีลีน(Ethylene) เป็นเหตุให้ผลร่วง พืชหลายชนิดที่ขาดธาตุแคลเซียม เช่น มะเขือเทศ แตงโม พริก แตงกวา จะเกิดการเน่าที่ส่วนล่างผล, ในผักขึ้นฉ่ายจะแสดงอาการไส้ดำ, ในแครอดจะแสดงอาการฟ่ามที่หัว, ในแอปเปิลจะมีรสขม, ในมันฝรั่งจะแสดงอาการเป็นสีน้ำตาลบริเวณกลางหัว, ในพืชลงหัวต่าง ๆ เช่น ผักกาดหัว(หัวไชเท้า) หอม กระเทียม จะแสดงอาการไม่ลงหัว หรือลงหัวแต่หัวจะไม่สมบูรณ์ ในพืชไร่ ต้นจะแตกเป็นพุ่มแคระเหมือนพัด แสดงอาการที่ราก คือ รากจะสั้น โตหนามีสีน้ำตาล ดูดอาหารไม่ปกติ ในระยะพืชออกดอก ติดผล ถ้าพืชขาดธาตุแคลเซียม ตาดอกและกลีบดอกจะไม่พัฒนา ดอกและผลจะร่วง
สภาพแวดล้อมที่พืชขาดธาตุแคลเซียม ในดินที่มีค่าของความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) ระหว่าง 4.0-7.0 และ 8.5 ขึ้นไป เมื่อให้ธาตุไนโตรเจนมาก เมื่อให้ธาตุโพแทสเซียมมาก เมื่อพืชแตกใบอ่อน แม้ว่าใบแก่จะมีธาตุแคลเซียม ทั้งนี้เนื่องจากธาตุแคลเซียมไม่เคลื่อนย้ายในพืช เมื่อพืชแตกใบอ่อนต้องให้ธาตุแคลเซียมอยู่เสมอ ธาตุแคลเซียมจะมีความสมดุลกับธาตุโบรอนและธาตุแมกนีเซียมในพืช ถ้าไม่มีความสมดุลระหว่างธาตุทั้ง 3 ชนิด พืชจะแสดงอาการผิดปกติ ธาตุแคลเซียมจะสูญเสียไปในดิน กลายเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต ซึ่งพืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้ ในดินที่เป็นกรด จะตรึงธาตุแคลเซียมไว้ ทำให้พืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้ | โดย: yavid_thait@hotmail.com [12 ก.พ. 53 14:11] ( IP A:124.121.234.66 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 6 ผิด | โดย: kak [18 ส.ค. 53 15:12] ( IP A:203.113.120.185 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 7 ขอบคุณค่ะที่ให้ข้อมูล | โดย: phael_tum_3110@hotmail.com [3 ธ.ค. 53 11:45] ( IP A:118.172.127.191 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 8 ดีมาก | โดย: jaran1956@hotmail.com [29 ส.ค. 55 15:38] ( IP A:101.51.33.86 X: ) |  |
* ขณะนี้พี้นที่เต็ม ไม่สามารถโพสต์กระทู้เพิ่มได้ *
|