ความคิดเห็นที่ 1 อีกมุมหยึ่งของไวโอลินที่หลุดออกมาดังภาพ
| โดย: อ.สุวรรณ [19 มี.ค. 54 23:53] ( IP A:210.203.179.4 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 2 ไวโอลินที่มีอายุมากๆย่อมเกิดการชำรุดขึ้นมาบ้างเป็นเรื่องธรรมดา แต่ไม่ต้องตกใจ ไวโอลินทุกตัวสามรถซ่อมให้ดีดังเดิมหรือดีกว่าเดิมได้หากได้รับการซ่อมแซมที่ถูกต้อง
| โดย: อ.สุวรรณ [19 มี.ค. 54 23:59] ( IP A:210.203.179.4 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 4 ขณะนี้ยังไม่ได้รับการซ่อม หลังซ่อมแล้วจะนำรูปมาลงให้ดูเปรียบเทียบกัน
| โดย: อ.สุวรรณ [20 มี.ค. 54] ( IP A:210.203.179.4 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 5 ไวโอลินทุกตัวเมื่อผ่านการซ่อมแล้วจะต้องทำการ Set up ใหม่รวมถึงการทดสอบเสียงใหม่อีกด้วย ไวโอลินที่ดีๆทั้งหลายจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนำไปให้ผู้ที่มีความรู้ความสารถที่แท้จริงทำ เป็นที่เสียดายอย่างยิ่งที่ไวโอลินดีๆหลายๆตัวได้รับการซ่อมที่ไม้ถูกต้อง ต้องถึงกาลอวสานไป
| โดย: อ.สุวรรณ [20 มี.ค. 54] ( IP A:210.203.179.4 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 6 มาสภาพแบบกระจุยเลยทีเดียวครับ อาจารย์ แบบนี้ะใช้เวลาซ่อมนานไหมครับ ? | โดย: J [22 มี.ค. 54 1:29] ( IP A:125.25.240.72 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 7 หากไม่มีคิวต้องรอก็สัก 2 สัปดาห์ แต่จะให้ดีก็สัก 1 เดือนโดยประมาณครับ สำหรับผู้ที่มีไวโอลินเพียงตัวเดียวแล้วเกิดชำรุดแบบนี้ ทางชมรมฯ มีไวโอลินให้ไปใช้ระหว่างส่งช่อมครับ | โดย: อ.สุวรรณ [22 มี.ค. 54 6:24] ( IP A:210.203.179.146 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 8 เมื่อซ่อมประกอบคอไวโอลินเข้าไปเรียบร้อยแล้วดังในภาพ ช่วงนี้เป็นช่วงที่สำคัญที่สุด หากช่างที่มิได้มีความชำนาญอาจจะต่อออกม้าแล้วคอเบี้ยวหรือความสูงของ Finger board ไม่ได้สัดส่วน ไวโอลินจะกลายเป็นไวโอลินพิการไปทันที
| โดย: อ.สุวรรณ [14 เม.ย. 54 1:03] ( IP A:49.230.39.137 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 10 ภาพด้านหลังของไวโอลินเมื่อซ่อมแล้ว
| โดย: อ.สุวรรณ [14 เม.ย. 54 1:09] ( IP A:49.230.39.137 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 11 ก่อนจะประกอบจะต้องทำความสะอาดเพื่อให้ไวโอลินนั้นดูแล้วมีคุณค่าน่าใช้น่าเล่น ดังภาพที่ถัดจากนี้ไป
| โดย: อ.สุวรรณ [14 เม.ย. 54 1:14] ( IP A:49.230.39.137 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 12 เมื่อแต่งองค์ทรงเครื่องแล้วสภาพออกมาจะเป็นแบบนี้ จะคนละแบบกับตอนที่นำมา 
| โดย: อ.สุวรรณ [14 เม.ย. 54 1:17] ( IP A:49.230.39.137 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 13 ภาพด้านหลังของตัวไวโอลินเมื่อประกอบเรียบร้อยแล้วเพื่อรอการปรับแต่งเสียง
| โดย: อ.สุวรรณ [14 เม.ย. 54 1:22] ( IP A:49.230.39.137 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 14 ลูกบิดเป็นงาช้าง บ่งบอกถึงถึงตัวตนเจ้าของดั้งเดิมว่าเป็นผู้ที่ให้ความสำคัญและดูแลรักษาไวโอลินตัวนี้เป็นอย่างดียิ่งซึ่งหมายถึงการเชิดหน้าชูตาเจ้าของจากไวโอลินตัวนี้อีกด้วย
| โดย: อ.สุวรรณ [14 เม.ย. 54 1:31] ( IP A:49.230.39.137 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 15 ชุดหางปลาตลอดจนที่รองคางก็เป็นงาช้าง ทำให้เสริมความเด่นให้กับไวโอลินตัวนี้เป็นอย่างยิ่ง ไม้แผ่นหลังมีสลักตัวอักษรมองเห็นอย่างชัดเจน Steiner และเมื่อได้ทดสอบเสียงแล้ว ถือได้ว่าเป็นไวโอลินที่มีซุ่มเสียงที่ดีมากตัวหนึ่งทำให้ดีใจที่ได้ชุบชีวิตไวโอลินเก่าๆตัวหนึ่งให้ฟื้นคืนกลับมาอย่างมีศักดิ์ศรีอีกครั้งและจะยังมีชีวิตต่อไปอีกยาวนาน
| โดย: อ.สุวรรณ [14 เม.ย. 54 1:43] ( IP A:49.230.39.137 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 18 ภาพลูกบิดงาช้างด้านหลังของหัวไวโอลิน
| โดย: อ.สุวรรณ [17 เม.ย. 54 22:35] ( IP A:210.203.179.65 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 19 ภาพลูกบิดงาช้างด้านหบ้าของหัวไวโอลิน
| โดย: อ.สุวรรณ [17 เม.ย. 54 22:38] ( IP A:210.203.179.65 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 20 ดูกันชัดๆอีกครั้งสำหรับที่รองคางและหางปลา
| โดย: อ.สุวรรณ [17 เม.ย. 54 22:41] ( IP A:210.203.179.65 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 21 f holes ของไวโอลินตัวนี้
| โดย: อ.สุวรรณ [17 เม.ย. 54 22:44] ( IP A:210.203.179.65 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 22 หากมีโอกาสและเวลาจะนำเอาเสียงของไวโอลินตัวนี้มาให้ได้รับฟังกัน
| โดย: อ.สุวรรณ [17 เม.ย. 54 22:48] ( IP A:210.203.179.65 X: ) |  |
ความคิดเห็นที่ 23 เหมือนได้ชีวิตใหม่เลยครับ ตอนแรกดูย่ำแน่จริงๆ แต่พอซ่อมเสร็จแล้ว เปลี่ยนไปอย่างเห็นได้ชัดเลย^^สวยขึ้นเยอะ | โดย: sitkumnan [12 พ.ย. 54 22:49] ( IP A:58.8.113.33 X: ) |  |
|